ระบบประวัติผลงานอาจารย์ และบริการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Faculty Profiles and Student Service System of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี    Word-Full CV    Word-CV 5 ปี
คุณสมบัติ :
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รศ.ดร.
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ) มหาวิทยาลัยมหิดล ไทย 2558
ปริญญาเอก Doctor of Public Administration (D.P.A.) Manuel L. Quezon University (MLQU) Philippines 2548
ปริญญาโท รัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาตร์) มหาวิทยาลัยสยาม ไทย 2545
ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษธุรกิจ) สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ไทย 2543

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม. (2567). การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
2. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม. (2564). การบริหารจัดการท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

3.2 งานวิจัย    
1. ศิริมา บุญมาเลิศ, เอกอนงค์ ศรีสําอางค์ และเขมภัทท์ เย็นเปี่ยม. (2566). ตัวแบบความร่วมมือ ของชุมชน หน่วยงานรัฐ และภาคเอกชน ในกระบวนการป้องกัน แก้ไข และเยียวยาผลกระทบจากปัญหา การระบาดของไวรัสโควิด-19 เทศบาลเมืองหัวหิน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. (ทุนวิจัย Fundamental Fund :FF 66).
2. จันทร์แรม เรือนแป้น, ยุทธพงษ์ ลีลากิจไพศาล, เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม, สุภาภรณ์ ตั้งดําเนินสวัสดิ์ และยุทธภูมิ ภู่ไพบูลย์. (2564). กระบวนการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเพื่อการพัฒนานักวิจัยมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. (ทุนวิจัย Fundamental Fund :FF 64).
3. ดนุสรณ์ กาญจนวงศ์, เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม และสุทธิพงษ์ จ่างทอง. (2562). รูปแบบการผลิตข้าว ปลอดภัยเพื่อมุ่งสู่มาตรฐาน GAP ในจังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. (ทุนวิจัย สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2561).
4. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม, อานุภาพ รักษ์สุวรรณ และดนุสรณ์ กาญจนวงศ์. (2562). การพัฒนา รูปแบบการจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพของเทศบาลเมืองหัวหิน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. (ทุนวิจัยจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) งบประมาณแผ่นดิน ปี 2561).
5. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม, ดนุสรณ์กาญจนวงศ์, วรเวชช์ อ่อนน้อม และสุทธิพงษ์ จ่างทอง. (2561). แนวทางการพัฒนาการจัดการนาแปลงใหญ่ของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในจังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. (ทุนวิจัยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และมหาวิทยาลัย สวนดุสิต ปี 2560).
6. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม, สมศักดิ์ เจริญพูล, ดนุสรณ์ กาญจนวงศ์, กุลธิดา ภูฆัง และศิริมา สุวรรณศรี. (2561). การพัฒนาทางการจัดการทรัพยากรปูม้า โดยชุมชนประมงเรือเล็กบนฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา: อ่าวเพ จังหวัดระยอง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. (ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปี 2560 (งบประมาณแผ่นดิน)).
7. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม, สมศักดิ์ เจริญพูล, ดนุสรณ์ กาญจนวงศ์, กุลธิดา ภูฆัง และศิริมา สุวรรณศรี. (2560). โครงการการจัดการทรัพยากรปูม้าอย่างยั่งยืนบนฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น บริเวณอ่าวเพ จังหวัดระยอง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. (ทุนวิจัยสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (สกอ.) ปี 2559).
8. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม, สมศักดิ์ เจริญพูล, ดนุสรณ์ กาญจนวงศ์, กุลธิดา ภูฆัง และศิริมา สุวรรณศรี. (2558). แนวทางการจัดการทรัพยากรปูม้า โดยชุมชนประมงเรือเล็กบนฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา: อ่าวเพ จังหวัดระยอง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. (ทุนวิจัยสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาแห่งชาติ (สกอ.) ปี 2557).
9. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม. (2556). การพัฒนาทุนมนุษย์ของวิสาหกิจชุมชนในนิคมเศรษฐกิจพอเพียง เขตปฏิรูปที่ดิน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. (ทุนวิจัยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา แห่งชาติ (สกอ.) ปี 2555).
10. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม. (2554). รูปแบบและแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการธุรกิจชุมชนในนิคม เศรษฐกิจพอเพียง เขตปฏิรูปที่ดิน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. (ทุนวิจัยสํานักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ปี 2553).
11. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม. (2552). กระบวนการจัดทําแผนชุมชนพึ่งตนเอง กรณีศึกษา : เปรียบเทียบ ชุมชนต้นแบบในแถบภาคกลางกับชุมชนนําร่องในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัยแห่งชาติ (สกว.). (ทุนวิจัยปี 2551).
12. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม. (2551). ผลกระทบจากการดําเนินงานตามแผนชุมชนพึ่งตนเอง กรณีศึกษา ชุมชนต้นแบบในแถบภาคกลาง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. (ทุนวิจัยจากมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต ปี2550).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ศิริมา บุญมาเลิศ, เอกอนงค์ ศรีสำอางค์ และเขมภัทท์ เย็นเปี่ยม . (2567). “ตัวแบบความร่วมมือของชุมชน หน่วยงานรัฐ และภาคเอกชน ในกระบวนการป้องกัน แก้ไข และเยียวยาผลกระทบจากปัญหาการระบาดของไวรัสโควิด-19 ศึกษากรณี ตำบลหัวหิน อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์.” วารสาร มจร. กาญจนปริทรรศน์, 4 (2). หน้า 182-194.
2. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม และดนุสรณ์ กาญจนวงศ์. (2567). “แนวทางการพัฒนาการจัดการนาแปลงใหญ่ของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในจังหวัดสุพรรณบุรี.” วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 9 (2). หน้า 67-78.
3. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม. (2566). “เครือข่ายนโยบายสาธารณะ: กรณีศึกษากองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.” วารสาร มจร. กาญจนปริทรรศน์, 3 (3). หน้า 168-178.
4. ดนุสรณ์ กาญจนวงศ์ และเขมภัทท์ เย็นเปี่ยม. (2565). “รูปแบบการผลิตข้าวปลอดภัยเพื่อมุ่งสู่มาตรฐาน GAP ในจังหวัดสุพรรณบุรี.” วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 7 (8). หน้า 67-81.
5. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม, อานุภาพ รักษ์สุวรรณ และ ดนุสรณ์ กาญจนวงศ์. (2563). “แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการขยะของเทศบาลเมืองหัวหิน.” วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 16 (1). หน้า 19-33.
6. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม, สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ. (2556). “กระบวนการจัดทำแผนชุมชนพึ่งตนเอง : กรณีศึกษาเปรียบเทียบระหว่างชุมชนต้นแบบในแถบภาคกลางกับชุมชนนำร่องในกรุงเทพมหานคร.” วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 53 (2). หน้า 1-28.
7. สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ, เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม, พรินทร์ เพ็งสุวรรณ, นิภาพรรณ เจนสันติกุล, สุธิรัส ชชื่น, อรวรรณ ฉ่ำชื่น และ อัญชลิตา สุวรรณะชฎ. (2554). “สองทศวรรษนโยบายการปฏิรูปการศึกษาด้านอาชีวศึกษา.” วารสารสหศาสตร์ , 11 (1). หน้า 216-235.
8. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม. (2552). “ผลกระทบจากการดำเนินงานตามแผนชุมชนพึ่งตนเองกรณีศึกษา: ชุมชนต้นแบบในแถบภาคกลาง.” วารสารวิจัย มสด สาขามนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์, 5 (3). หน้า 1-13.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Yenpiam, K,. Sirisunhirun, S,. & Wichitputchrapron, W. (2019). "Causal relationship model of factors affecting collaboration between local administrative organizations in early childhood education management in Thailand". Kasetsart Journal of Social Sciences, 40 (3). Page 558–566.
2. Yenpiam, K,. (2016). "Guidelines for Management of Blue Swimming Crab Resources by Small Fishing-Boat Fishery Communities Based on Local Wisdom : Case Study of Phe Bay of Rayong Province". Thammasat Review, 19 (1). Page 56-74.
3. Khemapat Yenpiam. (2013). "Human Capital Development of Community Enterprises in The Sufficiency Economy Land Settlements, Agricultural Reformed Areas of Thailand". Journal of Human Capital Development, 6 (2). Page 27-57.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. เขมภัทท์ เย็นเปี่ยม. (2567). ข้าราชการระดับปฏิบัติการ (Street–Level Bureaucrats) : บทบาทและความสําคัญในการบริหารรัฐกิจ. ในในการประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ การ บริหาร การจัดการ การศึกษา และสหวิทยาการศึกษา ครั้งที่ 6 ประจําปี 2567 (NCAME 2024), จัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ เมื่อวันที่วันศุกร์ที่ 20 ธันวาคม 2567.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Khemapat Yenpiam. (2009). The self-Reliant Community Planning Process : A comparative Study Between The Original Model in Central Region Bangkok, Thailand and The Experimental Model in Bangkok. In The First Annual International Conference on Social Sciences and Humanities , During -. -, Online.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2568     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาโท (-)
การบริหารโครงการ โครงการรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
นโยบายสาธารณะและการวิเคราะห์นโยบาย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
เศรษฐกิจ สังคม การเมืองไทย โครงการรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
       5.2 ระดับปริญญาตรี (-)
การบริหารและการจัดการท้องถิ่น โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
การวางแผนพัฒนาชุมชน หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์หลักสูตร รัฐประศา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มศศท 103 การบริหารจัดการสำหรับคนยุคใหม่
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต พลเมืองไทยในศตวรรษที่ 21 (หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป)
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์ การปกครองท้องถิ่นไทย
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์แ การจัดองค์กรท้องถิ่น
หลักสูตรรัฐประศาสาสตรบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์ การพัฒนาองค์การ
หลักสูตรรัฐประศาสาสตรบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์และ การพัฒนาองค์การ
โรงเรียนกฎหมายและ การเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิ นวัตกรรมและการเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการภาครัฐ
โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต การตรวจสอบและการประเมินผลการบริหารงานในภาครัฐ
โรงเรียนกฎหมายและการเมืองมหาวิทยาลัย สวนดุสิ ภาษาอังกฤษทางกฎหมายและการเมือง

6. ความเชียวชาญ :


ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

For Administrator