ระบบประวัติผลงานอาจารย์ และบริการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Faculty Profiles and Student Service System of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี    Word-Full CV    Word-CV 5 ปี
คุณสมบัติ :
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผศ.ดร.
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(พัฒนศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2559
ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2552
ปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต (แขนงวิชาทฤษฏีและเทคนิคทางรัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประเทศไทย 2551
ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (การจัดการการพัฒนาสังคม) เกียรตินิยมอันดับสอง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2547

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. วณิชชา ณรงค์ชัย, ภัทรพร วีระนาคินทร์, กิตติยา สุทธิประภา, ปิยพร ศิริปรีชาพันธุ์ และกฤตนน เดชาโชติช่วง. (2564). การพัฒนานวัตกรรมเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนของ อำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
2. ภัทรพร วีระนาคินทร์. (2563). รอยเท้านิเวศในเขตอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
3. ภัทรพร วีระนาคินทร์. (2563). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา HS402302 การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.

3.2 งานวิจัย    
1. ภัทรพร วีระนาคินทร์. (2567). การสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยชุมชน. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
2. ณัฐพล มีแก้ว, ภัทรพร วีระนาคินทร์, ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์ และ ศิริพงษ์ เพียศิริ. (2565). การพัฒนา กลไกส่งเสริมความอยู่ดีมีสุขทางการศึกษาหลังยุคโควิด 19 ของผู้เรียนในภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ. ขอนแก่น: -. (-).
3. วิภาวี กฤษณะภูติ, ดารารัตน์คำภูแสน และ ภัทรพร วีระนาคินทร์. (2565). แนวทางการเตรียมความ พร้อมหญิงไทยในการย้ายถิ่นฐานไปต่างประเทศ. ขอนแก่น: ศูนย์ชุมชนอีสานศึกษา คณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
4. บัวพันธ์ พรหมพักพิง, นิลวดี พรหมพักพิง, พรเพ็ญ โสมาบุตร, ภัทรพร วีระนาคินทร์ และนพรัตน์ รัตนประทุม. (2561). การเปลี่ยนแปลงความอยู่ดีมีสุขของชนบทอีสานในรอบ 10 ปี พ.ศ.2548-2559. ขอนแก่น: กลุ่มวิจัยความอยู่ดีมีสุขและการพัฒนาอย่างยั่งยืน. (เป็นนักวิจัย).
5. บัวพันธ์ พรหมพักพิง และคณะ. (2558). ๑๐๐เฮียนฮู้ ร่วมซุกยู้ อีสานอยู่ดีมีแฮง” การถอดบทเรียนโครงการความร่วมมือขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมในระดับตำบล. ขอนแก่น: กลุ่มวิจัยความอยู่ดีมีสุขและการพัฒนาอย่าง. (เป็นนักวิจัย).
6. บัวพันธ์ พรหมพักพิง และคณะ. (2556). การประเมินคุณประโยชน์ของระบบนิเวศ: การเปลี่ยนแปลงและผลต่อความอยู่ดีมีสุขของมนุษย์. ขอนแก่น: กลุ่มวิจัยความอยู่ดีมีสุขและการพัฒนาอย่างยั่งยืน. (เป็นนักวิจัย).
7. วิภาวี กฤษณะภูติ, ภัทรพร วีระนาคินทร์, ดารารัตน์ คำภูแสน, กฤตพา แสนชัยธร และ อารีย์ นัยพินิจ. (0). รูปแบบการจัดวิสาหกิจเพื่อสังคมสำหรับผู้สูงอายุในสังคมผู้สูงวัยในศตวรรษที่ 21. -: -. ((1 ปี)).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. วิภาวี กฤษณะภูติ, ภัทรพร วีระนาคินทร์, ดารารัตน์ คำภูแสน, อนันต์ คำอ่อน และเบญจวรรณ นัยนิตย์. (2567). “สถานการณ์ผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่นในมิติประชากรศาสตร์และมิติสุขภาพ.” วารสารสังคมศาสตร์ปัญญาพัฒน์, 6 (1). หน้า 27-40.
2. วิสสุตา อุ่นมาลย์ และภัทรพร วีระนาคินทร์. (2566). “การพัฒนา Chatbot สำหรับงานบริการนักศึกษาด้านการกู้ยืมเงินเพื่อการศึกษา (กยศ.) ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น.” วารสารพัฒนาเชิงพื้นที่และนโยบาย, 1 (4). หน้า 15-37.
3. ศิวกร โคตรทา, ภัทรพร วีระนาคินทร์ และกิตติธัช สุวรรณเจริญ. (2566). “แนวทางการต่อยอดภูมิปัญญาฮูปแต้มวัดไชยศรีในยุคดิจิทัล.” วารสารพัฒนาเชิงพื้นที่และนโยบาย, 1 (4). หน้า 47-60.
4. ชนาใจ หมื่นไธสง, ภัทรพร วีระนาคินทร์ และธิดารัตน์ สาระพล. (2566). “ร้านค้าริมทางชุมชนรอบข้างมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด: จากผลกระทบความเป็นเมืองสู่วิถีถัดไป.” Journal of Social Sciences and Humanities Research in Asia, 29 (2). หน้า 53-68.
5. ภัทรพร วีระนาคินทร์, วณิชชา ณรงค์ชัย, กิตติยา สุทธิประภา, ปิยพร ศิริปรีชาพันธุ์ และกฤตนน เดชาโชติช่วง. (2565). “ความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 22 (1). หน้า 1-14.
6. ชนาใจ หมื่นไธสง, ภัทรพร วีระนาคินทร์ และ นภัสภรณ์ ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม. (2565). “การก่อตั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด : การกลายเป็นเมืองและผลสะท้อนของนโยบาย.” วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 16 (2). หน้า 177-186.
7. กิตติยา สุทธิประภา, วณิชชา ณรงค์ชัย, ภัทรพร วีระนาคินทร์, ปิยพร ศิริปรีชาพันธุ์, กฤตนน เดชาโชติช่วง และ นุชนารถ สมควร. (2565). “ทักษะการรู้ดิจิทัลเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม อำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 40 (1). หน้า 42-55.
8. ชนาใจ หมื่นไธสง และ ภัทรพร วีระนาคินทร์. (2564). “องค์ประกอบพฤตพลังของผู้สูงวัยจากครอบครัวแหว่งกลางในพื้นที่ชนบทที่กำลังกลายเป็นเมือง : ศึกษาเทศบาลตำบลเกาะแก้ว เทศบาลตำบลท่าม่วง อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ประเทศไทย.” วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด, 10 (1). หน้า 830-844.
9. ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์, บัวพันธ์ พรหมพักพิง, นิลวดี พรหมพักพิง, พรเพ็ญ โสมาบุตร, ภัทรพร วีระนาคินทร์ และกฤษดา ปัจจ่าเนย์. (2563). “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตอบสนองนโยบายและแผนควบคุมยาสูบแห่งชาติของครัวเรือนเกษตรกรผู้ปลูกใบยาสูบ.” วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 5 (1). หน้า 39-74.
10. ภัทรพร วีระนาคินทร์. (2563). “รอยเท้านิเวศในเขตลุ่มน้ำพอง.” วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 13 (3). หน้า 110-122.
11. Buapun Promphakping, Ninlawadee Promphakping, Somabut Somabut, ภัทรพร วีระนาคินทร์, Sophie Rot. (2562). “Quality of life of Myanmar Migrant Labours in Samutsakorn Thailand.” KKU International Journal of Humanities and Social Sciences, 9 (3). หน้า 20-44.
12. นิลวดี พรหมพักพิง, บัวพันธ์ พรหมพักพิง, Monchai Phongsiri, Pornpen Somaboot, ภัทรพร วีระนาคินทร์. (2562). “ทรัพยากรธรรมชาติกับวิถียังชีพของครัวเรือนเกษตรกร รายย่อยในชนบทอีสาน.” วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช, 32 (2). หน้า 123-144.
13. ภัทรภร วีระนาคินทร์ และบัวพันธ์ พรหมพักพิง. (2562). “การพัฒนาตัวชี้วัดความอยู่ดีมีสุขของชุมชนชนบทในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย: กรณีศึกษาชุมชนชนบทในจังหวัดขอนแก่น (The Development of Community Wellbeing Indicators of Rural Community in the Northeast of Thailand: A Case Study of Rural Communities in Kh.” วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 14 (1). หน้า .
14. ภัทรพร วีระนาคินทร์ และ บัวพันธ์ พรหมพักพิง. (2561). “การพัฒนาตัวชี้วัดความอยู่ดีมีสุขของชุมชนชนบทในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย : กรณีศึกษาชุมชนชนบทในจังหวัดขอนแก่น.” วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 13 (3). หน้า 463-472.
15. Weeranakin, P,. Promphakping, B., Somaboot, P., Promphakping, N. & Rattanaprathum, N. (2023). “Resources and Needs of Household: The Objective Well-being Changing in Northeast Thailand.” Journal of Social Science Panyapat, 5 (3). หน้า 141-152.
16. Weeranakin, P. & Promphakping, B. (2017). “Local Meanings of Wellbeing and the Construction of Wellbeing Indicators.” Social Indicators Research, 0 ( ). หน้า .
17. Promphakping, B. Rattanaprathum, N., Somaboot, P. Promphakping, N. & Weeranakin, P. (2017). “Prioritizing Wellbeing of Rural Households of the Northeast of Thailand: A Comparison of Changes over a Decade (2005-2016).” The Social Sciences, 0 ( ). หน้า .

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Meekaew, N. , Weeranakin, P. , Chamaratana, T. , Promphakping, B. , & Bhiasiri, S. (2024). "Navigating Schools through the Pandemic Crisis: A Study on the Determinants Influencing the Well-Being of Secondary Students in Northeast Thailand". Education Sciences, 14 (7). Page 1-16.
2. Promphakping, B. , Promphakping, N. , Somaboot, P. , Weeranakin, P. & Phongsiri, M. (2023). "The Good Life: Agriculture Transformation and the Pursuance of Goals in Two Rural Villages of Northeastern Thailand". Forest and Society, 7 (2). Page 467–483.
3. Promphakping, B. , Chamaratana, T. , Somaboot, P. , Weeranakin, P., Promphakping, N. & Phatchaney, K. (2021). "Why Does Tobacco Agriculture in Thailand Persist?". Forest and Society, 5 (2). Page 543–558.
4. Promphakping, B. , Somaboot, P. , Mee-Udon, F. , Rattanaprathum, N. , Weeranakin, P. , Promphakping, N. , Suparatanagool, S.. (2021). "Using life goals to explore subjective well-being of people in northeast Thailand". International Journal of Sociology and Social Policy, 41 (9-10). Page 949–962.
5. Weeranakin, P. , Promphakping, B. (2018). "Local Meanings of Wellbeing and the Construction of Wellbeing Indicators". Social Indicators Research, 138 (2). Page 689–703.
6. Weeranakin, P. & Promphakping, B. (2017). "Community Wellbeing Indicator: A Study on a Possibility to Utilize in the Northeastern Part of Thailand". International Business Management, 0 ( ). Page .

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. Weeranakin, P. & Promphakping, B. (2014). Community Wellbeing in the Northeast of Thailand. ในRGJ-Ph.D. Congress XV “Towards Translational Research: Publications to Products, P2P, จัดโดยJomtien Palm Beach Hotel &Resort;, Pattaya, Chonburi, Thailand เมื่อวันที่28-30 May.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Weeranakin, P., Meekaew, N. & Chamaratana T. (2023). The Post-COVID Academic Climate: Analyzing the Education Wellbeing of Students in th Northeast Thailand. In 18th International Conference on Humanities and Social Sciences 2023 (IC-HUSO 2023), During 27 November. KhonKaen University, KhonKaen, Thailand.
2. Weeranakin, P. Promphakping, B., Chamaratana, T., Phongsiri, M., Promphakping, N. & Somaboot, P. (2017). Identifying Needs of Potential Development in the Tobacco Control Network (TCN) in the Northeast of Thailand. In 13th International Conference on Humanities and Social Sciences 2017 (IC-HUSO 2017), During 2-3 November. KhonKaen University, Thailand.
3. Promphakping, N., Somaboot, P., Weeranakin, P., Juntaboon, W., Muangsri, P. & Wattananamkul, V. (2017). Implementation of Policy on Healthcare System Development for Prisoners in KhonKaen Prison. In 13th International Conference on Humanities and Social Sciences 2017 (IC-HUSO 2017), During 2-3 November. KhonKaen University, Thailand.
4. Weeranakin, P.& Promphakping, B. (2017). Community Wellbeing: Local Meaning from the Northeast of Thailand. In RGJ Seminar Series 117 Theme: Social Development, During 24 February. Mae FahLuang University, Chiang Rai, Thailand.
5. Weeranakin, P. & Promphakping, B. (2015). Community Wellbeing: Meaning and Understanding from Rural Community in the Northeast of Thailand. In 11th International Conference on Humanities and Social Sciences 2015 (IC-HUSO 2015), During 26-27 November. Khon Kaen University, Thailand.
6. Weeranakin, P. & Promphakping, B. (2014). Community Wellbeing in the Northeast of Thailand: the Social Quality Perspective. In 12th International Conference on Thai Studies: Thailand in the World (ICTS12), During 22-24 April. University of Sydney, New South Wales, Australia.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     8     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรพัฒนศาสตร์ดุษฎีบัณทิต)
400 711 DEVELOPMENT SCIENCE THEORIES
400 712 RESEARCH METHODOLOGY IN DEVELOPMENT SCIENCE
400 991 SEMINAR ON CURRENT ISSUES IN POLITICAL, ECONOMICS AND SOCIAL CULTURAL DEVELOPMENT
HS 492 991 SEMINAR ON CURRENT ISSUES IN POLITICAL, ECONOMICS AND SOCIAL CULTURAL DEVELOPMENT
HS 498 991 SEMINAR 1: RESEARCH QUESTION FORMULATION IN DEVELOPMENT ISSUES
       5.2 ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรพัฒนศาสตร์บัณฑิต)
420 100 COMMUNITY-BASED LEARNING
420 315 GENDER AND DEVELOPMENT
420 316 CONCEPTS AND THEORIES OF WELLBEING IN THAI SOCIETY
420 331 PEACE STUDIES AND SOCIAL DEVELOPMENT
420 495 COOPERATIVE EDUCATION IN SOCIAL DEVELOPMENT
HS 431 101 CONCEPTS AND PROCESS OF COMMUNITY DEVELOPMENT
HS 433 901 COMMUNITY STUDIES
HS 434 758 NATURAL RESOURCES AND ENVIRONMENTAL MANAGEMENT
HS 434 805 SYSTEM THINKING AND SOCIAL DEVELOPMENT

6. ความเชียวชาญ : พัฒนาสังคม, พัฒนาชุมชน, ความอยู่ดีมีสุข, การจัดการสิ่งแวดล้อม, การวิจัยเชิงคุณภาพ


ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

For Administrator