ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาโท นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (นิเทศศาสตรพัฒนาการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2546
ปริญญาตรี วารสารศาสตรบัณฑิต (วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์) เกียรตินิยมอับดับ 2 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทย 2544

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. ขนิษฐา จิตแสง. (2560). การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคในบทบาทผู้รับสารด้านการสื่อสารการตลาด. ขอนแก่น: คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 150 หน้า.

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ขนิษฐา จิตแสง. (2566). “การรู้เท่าทันข่าวด้านการเมืองของเยาวชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” วารสารนิเทศศาสตร์, 41 (3). หน้า 73-94.
2. ขนิษฐา จิตแสง. (2566). “การเปิดรับข่าวสารด้านการเมือง การเสริมสร้างทุนทางสังคมออนไลน์ และการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการสื่อสารทางการเมืองของเยาวชน.” วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 21 (1). หน้า 86-111.
3. ขนิษฐา จิตแสง. (2566). “การเปิดรับข่าวสารออนไลน์ด้านการเมืองของเยาวชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 41 (1). หน้า 21-38.
4. ขนิษฐา จิตแสง. (2566). “ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสารด้านการเมืองผ่านสื่อใหม่และการรู้เท่าทันข่าวของเยาวชนไทย.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 41 (2). หน้า 79-101.
5. ขนิษฐา จิตแสง. (2565). “ความแตกต่างของเพศและกลุ่มการเรียนที่มีผลต่อการเปิดรับข่าวสารด้านการเมืองของนักศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 16 (2). หน้า 342-369.
6. ขนิษฐา จิตแสง. (2564). “การสื่อสารระหว่างบุคคลในบริบทการศึกษา.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 39 (3). หน้า 89-107.
7. ขนิษฐา จิตแสง. (2562). “การตลาดเพื่อความสุข.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 73 (2). หน้า 115-118.
8. ขนิษฐา จิตแสง. (2560). “ทักษะการรู้เท่าทันสื่ออินเทอร์เน็ตของเยาวชนในเขตเทศบาล นครขอนแก่น.” นิเทศศาสตร์ปริทัศน์, 20 (2). หน้า 70-88.
9. ขนิษฐา จิตแสง . (2557). “ปัจจัยส่วนบุคคลและกลุ่มบุคคลที่มีผลต่อความสามารถในการมีส่วนร่วมผ่านสื่ออินเทอร์เน็ตของเยาวชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น.” วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 8 (1). หน้า 129-156.
10. ขนิษฐา จิตแสง. (2557). “บทวิจารณ์หนังสือ 101 Social Media Tactics for Nonprofi ts : A Field Guide Melanie Mathos and Chad Norman.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 32 (3). หน้า 111-117.
11. ขนิษฐา จิตแสง. (2557). “ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านบุคคลและกลุ่มบุคคลกับทักษะการรู้เท่าทันสื่ออินเทอร์เน็ตของเยาวชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น.” อินฟอร์เมชั่น, 21 (2). หน้า 46-60.
12. ขนิษฐา จิตแสง. (2557). “ปัจจัยด้านบุคคลและกลุ่มบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตของเยาวชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น.” วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4 (2). หน้า 105-133.
13. ขนิษฐา จิตแสง . (2556). “บทวิจารณ์หนังสือ.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 31 (1). หน้า 141-145.
14. ขนิษฐา จิตแสง. (2556). “พฤติกรรมและรูปแบบการใช้บริการบนสื่ออินเทอร์เน็ตของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดขอนแก่น.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 30 (2). หน้า 217-242.
15. จุฑารัตน์ ศราวณะวงศ์, สมาน ลอยฟ้า, กุลธิดา ท้วมสุข, ชมนาด บุญอารีย์, และขนิษฐา จิตแสง . (2553). “การประเมินความพึงพอใจและความคาดหวังของผู้ใช้บัณฑิตสาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา 2545-2548.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 28 (2). หน้า 1-16.
16. Khanittha Jitsaeng. (2023). “The Use of Social Media among Thai youths for Political Communication.” Journal of Contemporary Social Sciences and Humanities, 10 (1). หน้า 1-10.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Jitsaeng, K. , Chansanam, W. , Kanyacome, S. , Detthamrong, U. & Li, C. (2024). "Factors Influencing Social Media Platform Engagement among Thai Students: A Quantitative Study". Emerging Science Journal, 8 (2). Page 539–556.
2. Detthamrong, U. , Nguyen, L.T. , Jitsaeng, K. , Chansanam, W. & Li, C. (2024). "Factors Influencing Employee Retirement Financial Planning: Evidence from Thai Higher Education Institutions". Emerging Science Journal, 8 (4). Page 1366–1384.
3. Jitsaeng, K. (2023). "Analyzing patterns of political news evaluation among university students in Northeast Thailand". Information Development, 0 (-). Page -.
4. Jitsaeng, K. & Chaikhambung, J. (2022). "Factors Influencing New Media Exposure of Political News by Youths in Isan Society". Journal of Information Science Theory and Practice, 10 (2). Page 86–101.
5. Jitsaeng, K. & Tuamsuk, K. (2022). "Digital Factors Influencing the Use of Social Media in Political Communication Among Thai Youths". International Journal of Media and Information Literacy, 7 (2). Page 450–462.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     16     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาตรี (สาขาสารสนเทศ)
412 352 การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค
412 354 การเขียนเชิงสร้างสรรค์เพื่อการสื่อสาร
412 452 การผลิตสื่อเพื่อการสื่อสาร
HS 213 304 การสร้างสรรค์เนื้อหาสาระดิจิทัล
HS 214 905 โมดูลเสริมทักษะและพัฒนาวิชาชีพสารสนเทศ

6. ความเชียวชาญ : การสื่อสาร

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น