ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Philosophy) Kurukshetra University India 2545
ปริญญาโท M.A. (Philosophy) Kurukshetra University India 2540
ปริญญาตรี ศน.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประเทศไทย 2532

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. พระถาวร ตาพรประเสริฐ หอมหวล บัวระภา และวิเชียร แสนมี. (2566). “วิเคราะห์พุทธธรรมที่ปรากฏในงานศิลปกรรมในนครหลวงเวียงจันทน์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงศาสนา.” วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6 (3). หน้า 1584-1601.
2. หอมหวล บัวระภา. (2565). “ความต้องการของผู้สูงอายุและความพร้อมของสถาบัน ที่ให้บริการผู้สูงอายุ.” วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 7 (5). หน้า 83-97.
3. พระทนงศักดิ์ ครองเมือง พระครูภาวนาโพธิคุณ จรัส ลีกา และหอมหวล บัวระภา. (2564). “ปรัชญาจารวากที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย.” วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 8 (2). หน้า 165-172.
4. พระครูปริยัติวราภิรม ภูมิภาค จรัส ลีกา พระมหาปพน แสงย้อย พระมหาจรูญ ฤทธิทิศ และหอมหวล บัวระภา. (2564). “ความสัมพันธ์ระหว่างกายและจิต.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (4). หน้า 84-94.
5. พระครูปริยัติวราภิรม พระครูภาวนาโพธิคุณ จรัส ลีกา หอมหวล บัวระภา และพระยงค์ยุทธ เทวธมฺโม. (2564). “การวิเคราะห์การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ตามหลักพุทธจริยศาสตร์ขององค์การบริหารส่วนตำบลสระนกแก้ว อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (3). หน้า 354-366.
6. พระมหาเชาวฤทธิ์ นรินฺโท(ทรัพย์สวัสดิ์), พระมหามิตร ฐิตปญฺโญ, พระครูสุธีคัมภีรญาณ, หอมหวล บัวระภา. (2563). “การศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตามหลักภาวนา 4 กรณีศึกษา: ผู้สูงอายุบ้านห้วยหอย ตำบลธาตุทอง อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (1). หน้า 58-72.
7. พระมหาพงศ์ทราทิตย์ ก้องเสียง, หอมหวล บัวระภา, วิเชียร แสนมี. (2563). “การวิเคราะห์บทบาทของคณะสงฆ์ภาค 10 ตามศาสตร์สมัยใหม่ พุทธจริยา และพระธรรมวินัย.” วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 17 (1). หน้า 509-517.
8. พระมหาพงศ์ทราทิตย์ ก้องเสียง, หอมหวล บัวระภา, วิเชียร แสนมี. (2563). “บทบาทที่พึงประสงค์ของพระสงฆ์ไทยในปัจจุบันและอนาคต.” วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5 (1). หน้า 1-15.
9. พระจตุรงค์ จตุราภินนฺโท, สุวิน ทองปั้น, จรัส ลีกา, พระครูภาวนา โพธิคุณ, หอมหวล บัวระภา, อุทัย กมลศิลป์, สุรพันธ์ สุวรรณศรี. (2563). “พุทธจริยศาสตร์ในภาพจิตรกรรมฝาผนังศาลาโพธิสาร 72 วัดโพธิ์ บ้านโนนทัน ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 7 (1). หน้า 225-239.
10. พระสุกฤษฎิ์ ภทฺทรเมธี (มาระศรี), จรัส ลีกา, พระครูภาวนา โพธิคุณ, สุวิน ทองปั้น, หอมหวล บัวระภา, อุทัย กมลศิลป์, สุรพันธ์ สุวรรณศรี. (2563). “การวิเคราะห์พุทธจริยศาสตร์ที่ปรากฏในธัมมจักกัปปวัตนสูตร.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 7 (1). หน้า 268-279.
11. พระครูโพธิธรรมานุศาสก์, พระมหาสำรอง สญฺญโต, หอมหวล บัวระภา. (2563). “การบูรณาการหลักพุทธธรรมกับการปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.” Journal of Modern Learning Development, 5 (3). หน้า 260-273.
12. พระครูสุตภัทรธรรม, พระมหาสำรอง สญฺญโต, ประยูร แสงใส, หอมหวล บัวระภา. (2563). “อริยวัฑฒิ 5 ในฐานะคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของเยาวชน.” Journal of Modern Learning Development, 5 (2). หน้า 262-273.
13. พระนัฐวุฒิ สิริจนฺโท(ศรีจันทร์), พระครูสุธีคัมภีรญาณ, หอมหวล บัวระภา. (2562). “การศึกษาวิเคราะห์คุณค่าความสัมพันธ์ระหว่างมารดา บิดากับบุตรในพระพุทธศาสนา.” วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด, 8 (2). หน้า 408-417.
14. ชาตรี พะยิ, พระมหาสำรอง สญฺญโต, หอมหวล บัวระภา. (2562). “นิพพานที่นี่ และเดี๋ยวนี้.” วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 6 (2). หน้า 129-140.
15. พระปลัดธนากร สนฺตมโน (เพราะถะ), พระมหาสำรอง สญฺญโต, หอมหวล บัวระภา. (2562). “แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ตามหลักการพุทธศาสนา.” วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม , 6 (2). หน้า 117-128.
16. พระครูประโชติ ธรรมวงศ์, พระมหามิตร ฐิตปญฺโญ, หอมหวล บัวระภา. (2562). “นิพพานพุทธทาส.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19 (3). หน้า 3327-388.
17. กัญยุพา สรรพศรี, โสวิทย์ บำรุงภักดิ์, พระมหาดาวสยาม วชิรปญฺโญ, หอมหวล บัวระภา. (2562). “การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ตามหลักไตรสิกขาของนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 2 (19). หน้า 101-112.
18. พระมหาไพฑูรย์ สิริธมฺโม, พระครูภาวนาโพธิคุณ, จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ, จรัส ลีกา, หอมหวล บัวระภา. (2562). “การวิเคราะห์แนวคิดเรื่องขันธ์ 5 ในเชิงอภิปรัชญา.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น , 6 (2). หน้า 208-221.
19. สรัญญา วิภัชชวาที, หอมหวล บัวระภา, กรรณิกา คําาดี. (2561). “ปัจจัยที่ก่อให้เกิดบุคลิกภาพพระโพธิสัตว์ในพุทธปรัชญา.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 35 (1). หน้า 267-290.
20. หอมหวล บัวระภา, โสวิทย์ บำรุงภักดิ์, พระครูสุธีคัมภีรญาณ. (2561). “เกณฑ์วินิจฉัยการทำดีการทำชั่วในพระพุทธศาสนา.” วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 5 (พิเศษ). หน้า 1-22.
21. ปัญญา เสนาเวียง, หอมหวล บัวระภา. (2561). “Perception in Kathāvatthu.” วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ , 7 (2 (ฉบับพิเศษ)). หน้า 154-160.
22. พระสำรอง สญฺญโต (แสงทอง), พระครู สุธีคัมภีรญาณ, สุวิน ทองปั้น, ประยูร แสงใส, หอมหวล บัวระภา. (2561). “แนวทางการส่งเสริมความสำเร็จการศึกษาของนิสิตหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 18 (3). หน้า 113-126.
23. สรัญญา วิภัชชวาที, หอมหวล บัวระภา, กรรณิกา คำดี. (2560). “การพัฒนาบุคลิกภาพตามพุทธปรัชญา.” วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 13 (3). หน้า 134-143.
24. โสวิทย์ บำรุงภักดิ์, หอมหวล บัวระภา. (2560). “อัตตา (ตัวตน) ในพุทธภาษิตและปรัชญาอนัตตา.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 34 (1). หน้า 270-290.
25. โสวิทย์ บำรุงภักดิ์, หอมหวล บัวระภา. (2560). “อัตตา (ตัวตน) ในพุทธภาษิตและปรัชญาอนัตตา.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ , 34 (1). หน้า 270-290.
26. บัวคำ ธงคำหาญ, สุเนตร โพธิสาร, หอมหวล บัวระภา. (2559). “พิธีกรรมการคอบผีเรือนในประเพณีการแต่งงานของเผ่าเม้ย ที่นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 33 (3). หน้า 100-114.
27. บัวคำ ธงคำหาญ, สุเนตร โพธิสาร, หอมหวล บัวระภา. (2559). “พิธีกรรมการคอบผีเรือนในประเพณีการแต่งงานของเผ่าเม้ย ที่นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 33 (3). หน้า 100-114.
28. สยาม กิ่งเมืองเก่า, หอมหวล บัวระภา. (2558). “อโรคยศาล : ประเพณี พิธีกรรม ความเชื่อ ในจังหวัดขอนแก่น.” วารสารวิชาการวิถีสังคมมนุษย์, 3 (1). หน้า 56-78.
29. พระมหาพงศ์ทราทิตย์ ก้องเสียง, หอมหวล บัวระภา. (2558). “พุทธศาสนากับเศรษฐกิจ : กรณีศึกษาแนวคิดของพระครูบุญชยากร วัดไชยศรี ตำบลสาวะถี อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น.” วารสารวิชาการวิถีสังคมมนุษย์, 3 (2). หน้า 85-110.
30. วินัย ชินบุตร, ทัศนีย์ บุญเติม, หอมหวล บัวระภา. (2558). “การพัฒนากิจกรรมการฝึกกายกับจิตเพื่อลดความเครียด ส่งเสริมความจำขณะทำงานความตั้งใจและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน.” วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 10 (3). หน้า 34-45.
31. หอมหวล บัวระภา. (2557). “การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ e-Learning รายวิชา ๔๑๙๓๑๗ สุนทรียศาสตร์.” วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 1 (2). หน้า 66-77.
32. หอมหวล บัวระภา. (2555). “พุทธศาสนาลาวภายใต้อุดมการณ์สังคมนิยม.” ในวารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.คลังนานาวิทยา,ขอนแก่น., 0 (0). หน้า 2518-2533.
33. หอมหวล บัวระภา. (2555). “ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการวัฒนธรรมของชาวอีสานกรณีศึกษาบุญผะเหวด.” วารสารรวมบทความ อุบลวัฒนธรรมครั้งที่ 2 “กินเที่ยว เกี้ยว เล่น” คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, อุบลราชธานี, 0 (0). หน้า -.
34. หอมหวล บัวระภา. (2555). “พระพุทธศาสนาลาวภายใต้อุดมการณ์สังคมนิยม 2518-2533.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 29 (1). หน้า 186-216.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Arunee Sriruksa, Niyom Wongpongkham and Homhuan Buarabha. (2014). "The Role of Women in Isaan Culture under a Capitalist". European Journal of Social Sciences Society, 0 (44). Page 363-3854.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. หอมหวล บัวระภา. (2564). กระดาษสาชาวไต หมู่บ้านหมังถวน. ในFAR7 ศิลปกรรมวิจัย 2564 “ART INTEGRATION ศิลป์ข้ามศาสตร์”, จัดโดย- เมื่อวันที่2564.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Homhuan Buarabha. (2014). Aesthetics : Learning and Teaching Through e-Learning System. In Proceedings in 9th International Conference on Humanities and Social Sciences, During 18-19 November 2013. Khon Kaen University, at Khon Kaen University, Thailand.​.
2. Homhuan Buarabha. (2013). Sangha Education Management of Lao People's Democratic (A Case Study of Vientiane) . In International Conference Hanoi, During 25-26 March 2013. National Economics University and Khon Kaen University, Hanoi.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     20     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (ปรัชญาและศาสนาเพื่อการพัฒนา)
419 902 ​​ Analysis of Buddhism and Buddhist Philosophy
419 999​​ Dissertation
HS 877 991 Seminar on Specific Issues in Eastern Philosophy and Religion
HS 877 998 Dissertation
       5.2 ระดับปริญญาโท (ปรัชญาและศาสนาเพื่อการพัฒนา))
400 897​​ Independent Study
400 899​​ Thesis
419 702​​ Advanced Logic
419 703​​ A Survey of Western Philosophy
419 710​​ Philosophy of Plato and Aristotle
419 716​​ Metaphysics
​419 705​​ Methodology in Religion and Philosophy
       5.3 ระดับปริญญาตรี (ปรัชญาและศาสนาเพื่อการพัฒนา)
419 110​​ Introduction to Philosophy
419 111​​ Logic
419 120​​ Introduction to Religion
419 122​​ Religion, Society and Culture
419 124​​ Buddhism , Society and Thai Culture
419 125​​ Buddhism and Daily Life
419 131 ​ Esan Culture
419 420​​ Buddhism in Thailand
419 421​​ Religions of Japan and China
​419 130 ​​ Thai Culture
​419 317 ​​ Aesthetics

6. ความเชียวชาญ : พุทธปรัชญา,ศาสนา, สุนทรียศาสตร์, ญาณวิทยา (อินเดีย)วัฒนธรรม

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น