ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก อ.ด .(ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2552
ปริญญาโท อ.ม. (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2543
ปริญญาตรี ศษ.บ. (ภาษาไทย, เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยศิลปากร ประเทศไทย 2539

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. มารศรี สอทิพย์. (2560). วรรณวิทย์ วรรณศิลป์. ขอนแก่น : พิมพ์ครั้งที่ 2, ขอนแก่นการพิมพ์.

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. อรทัย เพียยุระ, มารศรี สอทิพย์ และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2565). “การสร้างภาพลักษณ์เกย์แบบใหม่ผ่านน้ำเสียงผู้เล่าในวรรณกรรมเรื่องฤดูหลงป่า.” Journal of Roi Kaensarn Academi, 8 (4). หน้า 161-173.
2. หทัยวรรณ มณีวงษ์, มารศรี สอทิพย์. (2564). “ภาพแทนความเป็นชายและความเป็นหญิงอีสานในหมอลำกลอน.” วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา , 15 (1). หน้า 236-249.
3. มารศรี สอทิพย์, สุทธภา อินทรศิลป์. (2562). “การเล่าเรื่องและอุดมการณ์ในนวนิยายเพื่ออาเซียน กรณีศึกษา รักในม่านฝน.” สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์ , 19 (1). หน้า 1-20.
4. ยุพยง ทัศคร, มารศรี สอทิพย์. (2561). “สำนึกนิเวศลุ่มแม่น้ำโขง ในนวนิยายสายน้ำและชายชรา : เรื่องเล่าจากคอนผีหลง.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 35 (3). หน้า 90-113.
5. อัญชัน มีโส, ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์, มารศรี สอทิพย์. (2561). “งานเขียนประวัติศาสตร์เกี่ยวกับการปราบฮ่อ ในเอกสารไทยและลาว พ.ศ. 2411-2431.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง , 14 (1). หน้า 133-157.
6. จามจุรี นิศยันต์, มารศรี สอทิพย์. (2559). “ภาพแทนของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวจากการนำเสนอผ่านนวนิยายไทย.” วารสารบัณฑิตศึกษามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 5 (2). หน้า 29-55.
7. มารศรี สอทิพย์และปียกนิษฐ์ สาธารณ์. (2558). “เนื้อหาและกลวิธีทางภาษาในงานเขียนของพระไพศาล วิสาโล.” วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 (2). หน้า 1-32.
8. มารศรี สอทิพย์. (2553). “กลวิธีการเล่าเรื่องกับการสร้างภาพลักษณ์ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในทำนองเดียวกับพระพุทธเจ้า.” วารสารไทยศึกษา, 6 (1). หน้า 35-74.
9. มารศรี สอทิพย์. (2551). “คัมภีร์สุโพธาลังการ : ตำราประพันธศาสตร์.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 25 (1). หน้า 153-164.
10. มารศรี สอทิพย์. (2547). “จินดามณี : ตำราประพันธศาสตร์ของไทย.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ , 22 (1). หน้า 1-24.
11. มารศรี สอทิพย์. (2544). “สาลิเกทารชาดก ว่าด้วยนกแขกเต้าเลี้ยงพ่อแม่.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 21 (1). หน้า 53-63.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Orathai Piayura, Marasri Sorthip, Kanyarat Unthanon and Umarin Tularak. (2018). "Narrator and language thai online literature". People : International Journal of Social Sciences, 4 (1). Page p.108-110.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. พัทธนันท์ อยู่เย็น และมารศรี สอทิพย์. (2564). การวิเคราะห์เนื้อหาในคอลัมน์ . ในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 22 (ออนไลน์), จัดโดย- เมื่อวันที่วันพฤหัสบดีที่ 25 มีนาคม 2564. ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. หน้า 226-237.
2. สกุณา วันตะคุ และมารศรี สอทิพย์. (2564). แนวคิดในงานเขียนของประภาส ชลศรานนท์ ชุด คุยกับประภาส. ในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 22 (ออนไลน์), จัดโดย- เมื่อวันที่วันพฤหัสบดีที่ 25 มีนาคม 2564 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. หน้า 238-248.
3. ธารารัตน์ เป้ดทิพย์ และมารศรี สอทิพย์. (2561). ภาพแทนครูในบทเพลงชุดครูในดวงใจ . ในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาครั้งที่ 19, จัดโดยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่9 มีนาคม 2561, หน้า 981-988.
4. ฑัตจยศพล ธนธุวานันท์ และมารศรี สอทิพย์. (2560). สัมพันธบทของวรรณกรรมไทยกับไพ่พยากรณ์ : ไพ่นางสีดา. ในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาครั้งที่ 18, จัดโดย เมื่อวันที่10 มีนาคม 2560, หน้า 1407-1416.
5. ธารารัตน์ เป้ดทิพย์ และ มารศรี สอทิพย์. (2560). ภาพแทนของครูในวรรณกรรมเพลงที่เกี่ยวกับครูของ พงศพล คำโสภา. ในการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายความร่วมมือวิชาการและวิจัยด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, จัดโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เมื่อวันที่26 สิงหาคม 2560, หน้า 23-32.
6. หทัยชนก แสงเปี่ยม และมารศรี สอทิพย์. (2558). กลวิธีการเล่าเรื่องและอุดมการณ์ที่ปรากฏในงานวรรณกรรมเยาวชน เรื่องปราสาทกระต่ายจันทร์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 “พระพุทธศาสนานากับการพัฒนาสังคมในภูมิภาคอินโดจีน” เล่ม 3 , จัดโดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น เมื่อวันที่20 เมษายน 2558, หน้า 424-432.
7. จามจุรี นิศยันต์ และมารศรี สอทิพย์. (2558). กลวิธีการเล่าเรื่องและแนวคิดที่ปรากฏในนวนิยายไทยที่นำเสนอภาพความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กรณีศึกษานวนิยายเรื่องศรีสองรัก. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 “พระพุทธศาสนานากับการพัฒนาสังคมในภูมิภาคอินโดจีน” เล่ม 3, จัดโดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น เมื่อวันที่20 เมษายน 2558, หน้า 277-285.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. พัทธนันท์ อยู่เย็น มารศรี สอทิพย์. (2564). การวิเคราะห์เนื้อหาในคอลัมน์ “คำ ผกา” จากเว็บไซต์มติชนสุดสัปดาห์. In การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 22, During 226-237, 2564. -, -.
2. สกุณา วันตะคุ และ มารศรี สอทิพย์. (2564). แนวคิดในงานเขียนของประภาส ชลศรานนท์ ชุด คุยกับประภาส. In การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 22, During 2564 (). 226-237, 2564. -, -.
3. หทัยวรรณ มณีวงษ์ และมารศรี สอทิพย์. (2563). บริบทและสภาพสังคมอีสานที่มีอิทธิพลต่อภาพแทนความเป็นหญิงอีสานที่ปรากฏในหมอลำกลอนประยุกต์. In รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ โครงการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ เครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและวัฒนธรรม 4 สถาบันการศึกษา , During วันที่ 17-18 ธันวาคม 2563. หน้า 360-372. -, -.
4. Suphakkhathat Suthanaphinyo, Wirat Wongpinunwatana and Marasri Sorthip. (2019). King of Kings: Presentation of the Heroic Image in Royal Ship Lyrics. In 15th International Conference on Humanities and Social Sciences 2019 (IC-HUSO 2019), During November 11-12, 2019. , Humanities and Social Sciences, KKU, p 166-184.
5. Hathaiwan Maneewong and Marasri Sorthip. (2019). A Study of Mor-lam Performance in Thailand. In International Academaic Conference on Language, Literature and Culture. (ICLLC)., During July 3-4, 2019. , Munich Germany.
6. Zhang Yun and Marasri Sorthip. (2017). Analysis of Chinese female’s State through the movie “Raise the Red Lantern”of Zhang Yi Mou. In 6th International Conference on Social Science and Humanity (ICSSH 2017), During March 25-27, 2017. , Kyoto, Japan.
7. Anan Lakul and Marasri Sorthip. (2016). Local Identity of Lanna in Song Literature. In 6th International Conference on Socio-economic and Environmental Issues in Development 2016 at National Economics University, During . , Hanoi, Vietnam.
8. Orathai Piayura, Marasri Sorthip. (2016). Female Ghosts in Thai Contemporary Literature. In The 5th International Conference on Language, Literature, Culture and Education(ICLLCE 2016), During August 29-30 2016. , Singapore, (p 236-242).
9. Zhang Yun and Marasri Sorthip. (2016). Analysis of Chinese female’s State through the movie “Raise the Red Lantern”of Zhang Yi. In 12th International Conference on Humanities & Social Science 21016 (IC-HUSO 2016), During November 14-15, 2016. , Humanities and Social Sciences, KKU, (p 1317-1328).
10. Rattana Chanthao, Wirat Wongphinanwatthana, Orathai Piayura, Marasri Sorthip and Supakit Buakhao. (2016). State of teaching and teacher development in Thai language of Elementary schools in Pra Yuen district, Khonkaen Province. In 12th International Conference on Humanities & Social Science 2016 (IC-HUSO 2016), During November 14-15, 2016. , Humanities and Social Sciences, KKU, (p 1245-1259).
11. Kanchanapa Maedsathan, Marasri Sorthip and Umarin Tularak. (2016). Narrative techniques and Defense of ideology between Buddhism and superstition in Khom Historical Novel : HubKhaoginkion. In The 2016 Internationl Symposium on Business and Social Science, (The 4th ISBASS), During April, 19-21 2016. , Jeju Island, Korea, (p. 65-73).
12. Pirapon Pissapim, Umarin Tularak and Marasri Sorthip. (2016). The Characters and Collective Identity in ASEAN tale. In The 2016 Internationl Symposium on Business and Social Science, (The 4th ISBASS), During April 19-21, 2016. -, Jeju Island, Korea, (p 274-283).
13. Sirinapa Nasrisuk, Umarin Tularak and Marasri Sorthip. (2015). Components and Cultural Meanings of TudmoeiKaebon Ceremony in KhaoPanom District, Krabi and Thungyai District, Nakonsritammarat. In The International Symposium on Business and Social Sciences. (TISSS), During December 3-5, 2015 . -, Tokyo, Japan, (p 701-707).
14. Kanchanapa Maedsathan and Marasri Sorthip. (2015). Narrative techniques and Defense of ideology between Buddhism and superstition in Hubkhaoginkon. In 11th International Conference on Humanities & Social Sciences 2015. (IC-HUSO 2015), During November 26-27, 2015. -, Humanities and Social Sciences, KKU, (p 1411-1425).
15. Hataichanok Sangpeam and Marasri Sorthip. (2015). Narrative Techniques as appeared in a juvenile literature Prasat Krataichan. In ISCAL 2015, During August 5-7, 2015 . -, Kurame, Japan, (p 128-136).

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     11     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรภาษาไทยมหาบัณฑิต)
416 712 ทฤษฎีการศึกษาวรรณกรรม
       5.2 ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรภาษาไทยบัณฑิต)
416 113 การพัฒนาทักษะการสื่อสาร 1
416 131 วรรณกรรมศึกษา
416 211 การพัฒนาทักษะการสื่อสาร 1
416 231 พัฒนาการวรรณกรรมไทย
416 331 เรื่องสั้นและนวนิยาย
416 412 วัจนลีลา
416 495 สหกิจศึกษาทางภาษาและวรรณกรรม

6. ความเชียวชาญ : วรรณคดี วรรณกรรม คติชนวิทยา

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น