ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปร.ด. (ไทศึกษา) มหาวิทยามหาสารคาม ประเทศไทย 2551
ปริญญาโท ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา) มหาวิทยามหาสารคาม ประเทศไทย 2546
ปริญญาตรี ศศ.บ.(ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2537

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    
1. แก้วตา จันทรานุสรณ์ ทรงวิทย์ พิมพะกรรณ และวิจิตรา ดวงโสภา. (2560). มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมือง. : กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. ().
2. แก้วตา จันทรานุสรณ์ และคณะ. (2560). อาหารในงานบุญ : วิถีจารีตและความทันสมัยใน สปป.ลาว. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง. ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. Huanli Xu, ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์ และ แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2564). “เจิ้งเหอ: การสร้างความทรงจำร่วมในสวนสาธารณะตำบลจิ้นหนิง มณฑลยูนนาน ประเทศจีน.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 10 (1). หน้า 130-156.
2. แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2563). “เด็กป่าซาบิเน่ : ความทรงจำและศักดิ์ศรีของการมีชีวิต.” ใน ว.มนุษย์กับสังคม, 5 (2). หน้า (มี.ค.-มิ.ย.) , 177-188.
3. แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2560). “หลักธรรมเพื่อการหลุดพ้นในวรรณรูปของ ทยาลุ.” วารสารมนุษย์กับสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2 (2). หน้า (มกราคม – มิถุนายน), 9-25.
4. แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2558). “บทละครพูด หัวใจนักรบ ในบริบทสร้างสำนึกความเป็นชาติ.” วารสารวิชาการวิถีสังคมมนุษย์, 3 (2). หน้า 131-155.
5. สุทธวรรณ อินทรพาณิช, แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2557). “การช่วงชิงความหมายในการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำกรณีศึกษา กุดทิง จังหวัดบึงกาฬ.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง , 10 (1). หน้า 163-185.
6. แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2556). “พันธกิจของนักเขียนอีสาน ...ในบริบทความทันสมัย จากนิตยสารทางอีศาน.” วารสารวิชาการวิถีสังคมมนุษย์, 1 (1). หน้า 90-119.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2562). “บังบด” : ชาติพันธุ์วรรณนา ความรู้และความยตุิธรรมเชิงนิเวศในดินแดน คุณธรรม “Bung Bod” : Ethnography Knowledge, justice and ecological in Moral Land. ในในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติและระดับชาติ ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ครั้งที่ 2 “ความสำเร็จขอเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน: ความท้าทายต่อมนุษย์สังคมคมศาสตร์ในยุคดิจิทัล, จัดโดยเมืองมัณฑะเลย์ สาธารณรัฐ แห่งสหภาพพม่า เมื่อวันที่วันที่ 4-7 กันยายน 2562.
2. แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2561). วิถีนาคา ภูมิปัญญาและโลกธรรมท้องถิ่นในพื้นที่ชุ่มน้ำโลก. ในในการประชุมวิชาการ โลกกับธรรม, จัดโดยโดย สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสาขาวิชาภาษาและวรรณคดีตะวันออก คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เมื่อวันที่23 กุมภาพันธ์ 2561.
3. แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2561). ข้ามวิถี : “ไทคัว” ข้ามมนุษย์ ณ จุดตัดแห่งความสัมพันธ์เชิงอำนาจในพื้นที่ชุ่มน้ำโลก )Cross –Way of Life’s Tai Khuaw : The interaction of Power Relations in wetland of International Importance). ในในการประชุมวิชาการประจำปีด้านมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา ครั้งที่ 1 หัวข้อ “เชื่อม ข้าม เผชิญหน้า ณ จุดตัด”, จัดโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เมื่อวันที่วันที่ 24 – 25 สิงหาคม 2561.
4. แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2561). หมอลำเรื่อง ลูกทุ่ง อินคอนเสิร์ต : ตัวตน และ แรงปรารถนาของคนอีสานในกระแสทุนนิยม . ในการประชุมวิชาการเครือข่ายศูนย์วิจัยภูมิภาคลุ่มน้ำโขง, จัดโดยมหาวิทยาลัยนครพนม เมื่อวันที่ .
5. แก้วตา จันทรานุสรณ์ และ ชญาดา ทับภูมี. (2559). ขับ-ลำ ทำเพลง : “เสียง” ร้าวลึก เล่าเรื่อง เมือง-ชีวิต. ในโครงการสานสัมพันธ์วรรณกรรมลาว-ไทย ครั้งที่ 3 “ขับ-ลำ มรดกล้านช้าง” , จัดโดยโรงแรม ดาวสะหวัน รีสอร์ท แอนด์สปา เมืองไกสอน พมวิหาน, แขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เมื่อวันที่21-23 กรกฎาคม 2559.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Juntranusorn, K.. (2019). The Practice of Molam Phleun Sao Noi Petch Ban Phang in the Cultural Industry. In In the proceeding of The 15th International Conference on Humanities and Social Sciences 2019 (IC-HUSO 2019), During 11-12 November 2019. Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand.
2. Chantranuson, K.. (2017). Lam Rueang Toh Klon: Formal Adaptation to Lukthung in Concert. In Proceedings of The 21st International Conference Asia Pacific Society for Ethnomusicology 2017 (APSE 2017), During . Asia Pacific Society for Ethnomusicoloogy, .
3. Boonkead, W., & Chantranuson, K. (2016). The Saek New Year: Construction of Ethnic Identity in the Area of New Year’s Day and the Sum-Soi Contest. In 12th International Conference on Humanities & Social Sciences 2016 (IC-HUSO 2016), During 14th-15th November 2016 (pp. 2095-2109). Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     28     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาโท (สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา)
400 732 ​ ภาษาและวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง
400 733 ​ แนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับลุ่มน้ำโขงศึกษา
400 734 ​ ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับลุ่มน้ำโขงศึกษา
400 899 ​ วิทยานิพนธ์
HS 857 102 Mekong Language and Culture
HS 857 103 Theoretical Concepts Related to Mekong studies
HS 857 104 Research Methodology for Mekong studies
       5.2 ระดับปริญญาตรี (สาขาวิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา)
428 330 มัคคุเทศก์ทางประวัติศาสตร์
428 331 ประวัติศาสตร์และสารคดี
428 332 การเขียนและผลิตสารคดีทางประวัติศาสตร์
       5.3 ระดับปริญญาตรี (-)
416 131 Literary Studies
416 232 Thai Literary Masterpieces
416 271 Literary and Society
416 272 Folklore
       5.4 ระดับปริญญาตรี (ภาษาไทย)
416 131​ วรรณกรรมศึกษา
416 334​ คติชนวิทยา
416 337​ วรรณกรรมกับสังคม
416 434 ​ วรรณกรรมอีสาน

6. ความเชียวชาญ : วรรณคดี วรรณกรรม คติชนวิทยา

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น