ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)
ระดับ | ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) | ชื่อสถาบัน, ประเทศ | ปี พ.ศ. ที่จบ |
---|---|---|---|
ปริญญาเอก | ปร.ด. (ไทศึกษา) | มหาวิทยามหาสารคาม ประเทศไทย | 2551 |
ปริญญาโท | ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา) | มหาวิทยามหาสารคาม ประเทศไทย | 2546 |
ปริญญาตรี | ศศ.บ.(ภาษาไทย) | มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย | 2537 |
1. | แก้วตา จันทรานุสรณ์ ทรงวิทย์ พิมพะกรรณ และวิจิตรา ดวงโสภา. (2560). มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมือง. : กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. (). |
2. | แก้วตา จันทรานุสรณ์ และคณะ. (2560). อาหารในงานบุญ : วิถีจารีตและความทันสมัยใน สปป.ลาว. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง. (). |
1. | Huanli Xu, ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์ และ แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2564). “เจิ้งเหอ: การสร้างความทรงจำร่วมในสวนสาธารณะตำบลจิ้นหนิง มณฑลยูนนาน ประเทศจีน.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 10 (1). หน้า 130-156. |
2. | แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2563). “เด็กป่าซาบิเน่ : ความทรงจำและศักดิ์ศรีของการมีชีวิต.” ใน ว.มนุษย์กับสังคม, 5 (2). หน้า (มี.ค.-มิ.ย.) , 177-188. |
3. | แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2560). “หลักธรรมเพื่อการหลุดพ้นในวรรณรูปของ ทยาลุ.” วารสารมนุษย์กับสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2 (2). หน้า (มกราคม – มิถุนายน), 9-25. |
4. | แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2558). “บทละครพูด หัวใจนักรบ ในบริบทสร้างสำนึกความเป็นชาติ.” วารสารวิชาการวิถีสังคมมนุษย์, 3 (2). หน้า 131-155. |
5. | สุทธวรรณ อินทรพาณิช, แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2557). “การช่วงชิงความหมายในการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำกรณีศึกษา กุดทิง จังหวัดบึงกาฬ.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง , 10 (1). หน้า 163-185. |
6. | แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2556). “พันธกิจของนักเขียนอีสาน ...ในบริบทความทันสมัย จากนิตยสารทางอีศาน.” วารสารวิชาการวิถีสังคมมนุษย์, 1 (1). หน้า 90-119. |
7. | แก้วตา จันทรานุสรณ์, ชยันต์ วรรธนะภูติ และ ชาร์ลส์ เอฟ คายส์ . (2553). “พื้นที่อัตลักษณ์กับการสถาปนาอำนาจนำทางวัฒนธรรมของทายาทจีนโพ้นทะเลในเทศบาลขอนแก่น.” Journal of Humanities and Social Sciences Mahasarakham University วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2010 (Volume 29, Issue 1). หน้า pp.148-161. |
8. | แก้วตา จันทรานุสรณ์, ชยันต์ วรรธนะภูติ และ ชาร์ลส์ เอฟ คายส์ . (2553). “พื้นที่อัตลักษณ์กับการสถาปนาอำนาจนำทางวัฒนธรรมของทายาทจีนโพ้นทะเลในเทศบาลขอนแก่น.” Journal of Humanities and Social Sciences Mahasarakham University วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2010 (Volume 29, Issue 1). หน้า pp.148-161. |
1. | แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2562). “บังบด” : ชาติพันธุ์วรรณนา ความรู้และความยุติธรรมเชิงนิเวศในดินแดน คุณธรรม “Bung Bod” : Ethnography Knowledge, justice and ecological in Moral Land. ในในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติและระดับชาติ ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ครั้งที่ 2 “ความสำเร็จขอเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน: ความท้าทายต่อมนุษย์สังคมคมศาสตร์ในยุคดิจิทัล, จัดโดยเมืองมัณฑะเลย์ สาธารณรัฐ แห่งสหภาพพม่า เมื่อวันที่วันที่ 4-7 กันยายน 2562. |
2. | แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2561). วิถีนาคา ภูมิปัญญาและโลกธรรมท้องถิ่นในพื้นที่ชุ่มน้ำโลก. ในในการประชุมวิชาการ โลกกับธรรม, จัดโดยโดย สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสาขาวิชาภาษาและวรรณคดีตะวันออก คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เมื่อวันที่23 กุมภาพันธ์ 2561. |
3. | แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2561). ข้ามวิถี : “ไทคัว” ข้ามมนุษย์ ณ จุดตัดแห่งความสัมพันธ์เชิงอำนาจในพื้นที่ชุ่มน้ำโลก )Cross –Way of Life’s Tai Khuaw : The interaction of Power Relations in wetland of International Importance). ในในการประชุมวิชาการประจำปีด้านมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา ครั้งที่ 1 หัวข้อ “เชื่อม ข้าม เผชิญหน้า ณ จุดตัด”, จัดโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เมื่อวันที่วันที่ 24 – 25 สิงหาคม 2561. |
4. | แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2561). หมอลำเรื่อง ลูกทุ่ง อินคอนเสิร์ต : ตัวตน และ แรงปรารถนาของคนอีสานในกระแสทุนนิยม . ในการประชุมวิชาการเครือข่ายศูนย์วิจัยภูมิภาคลุ่มน้ำโขง, จัดโดยมหาวิทยาลัยนครพนม เมื่อวันที่ . |
5. | แก้วตา จันทรานุสรณ์ และ ชญาดา ทับภูมี. (2559). ขับ-ลำ ทำเพลง : “เสียง” ร้าวลึก เล่าเรื่อง เมือง-ชีวิต. ในโครงการสานสัมพันธ์วรรณกรรมลาว-ไทย ครั้งที่ 3 “ขับ-ลำ มรดกล้านช้าง” , จัดโดยโรงแรม ดาวสะหวัน รีสอร์ท แอนด์สปา เมืองไกสอน พมวิหาน, แขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เมื่อวันที่21-23 กรกฎาคม 2559. |
1. | Juntranusorn, K.. (2019). The Practice of Molam Phleun Sao Noi Petch Ban Phang in the Cultural Industry. In In the proceeding of The 15th International Conference on Humanities and Social Sciences 2019 (IC-HUSO 2019), During 11-12 November 2019. Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand. |
2. | Chantranuson, K.. (2017). Lam Rueang Toh Klon: Formal Adaptation to Lukthung in Concert. In Proceedings of The 21st International Conference Asia Pacific Society for Ethnomusicology 2017 (APSE 2017), During . Asia Pacific Society for Ethnomusicoloogy, . |
3. | Boonkead, W., & Chantranuson, K. (2016). The Saek New Year: Construction of Ethnic Identity in the Area of New Year’s Day and the Sum-Soi Contest. In 12th International Conference on Humanities & Social Sciences 2016 (IC-HUSO 2016), During 14th-15th November 2016 (pp. 2095-2109). Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen. |
400 732 | ภาษาและวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง |
400 733 | แนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับลุ่มน้ำโขงศึกษา |
400 734 | ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับลุ่มน้ำโขงศึกษา |
400 899 | วิทยานิพนธ์ |
HS 857 102 | Mekong Language and Culture |
HS 857 103 | Theoretical Concepts Related to Mekong studies |
HS 857 104 | Research Methodology for Mekong studies |
428 330 | มัคคุเทศก์ทางประวัติศาสตร์ |
428 331 | ประวัติศาสตร์และสารคดี |
428 332 | การเขียนและผลิตสารคดีทางประวัติศาสตร์ |
416 131 | Literary Studies |
416 232 | Thai Literary Masterpieces |
416 271 | Literary and Society |
416 272 | Folklore |
416 131 | วรรณกรรมศึกษา |
416 334 | คติชนวิทยา |
416 337 | วรรณกรรมกับสังคม |
416 434 | วรรณกรรมอีสาน |
Link ที่เกี่ยวข้อง : GS-FROM REG REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319 Facebook : งานบัณฑิต
อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th
© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น