ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2548
ปริญญาโท อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2542
ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2540

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2561). การอ่านงานวิชาการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. อุบลราชธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
2. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2560). วรรณกรรมคำสอน. พิมพ์ครั้งที่ 2. อุบลราชธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

3.2 งานวิจัย    
1. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2561). เรื่องเล่าและการเล่าเรื่องในจดหมายเหตุฟาน ฟลีต. อุบลราชธานี: คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ().
2. พิสิทธิ์ กอบบุญ และ แพรวพรรณ หอกิจรุ่งเรือง. (2560). ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของสื่อที่ใช้ใน การจัดการเรียนการสอนเรื่องการรู้เท่าทันสื่อ: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. อุบลราชธานี: คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติ (กสทช.). ().
3. จักรพันธ์ แสงทอง และพิสิทธิ์ กอบบุญ. (2559). การศึกษาสถานภาพความเชื่อร่วมเรื่องนาคไทย- ลาว ตั้งแต่ พ.ศ. 2521-2557. อุบลราชธานี: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ().
4. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2558). จิตรกรรมอีสาน: พุทธศิลป์เพื่อการศึกษาเรียนรู้พุทธธรรม คุณธรรม จริยธรรมและวิถีชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. ().
5. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2557). แนวคิดและบทบาทของวรรณกรรมพระพุทธศาสนาในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. ().
6. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2553). พระราชปุจฉา: พัฒนาการและคุณค่าทางวรรณคดี. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. ().
7. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2551). วรรณกรรมไทยพุทธศาสนา: ลักษณะสำคัญและพันธกิจต่อสังคม. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ().
8. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2551). การศึกษาสถานภาพความรู้งานวิจัยอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงด้านภาษาและวรรณกรรมหลังปี 2540. อุบลราชธานี: ศูนย์วิจัยอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ().
9. พิสิทธิ์ กอบบุญ (ผู้วิจัยร่วม). (2544). ภูมิปัญญาของคนไทย: ศึกษาจากหลักฐานด้านวรรณคดี. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2563). “จิตรกรรมอีสานริมแม่น้ำโขง: พุทธศิลป์เพื่อการศึกษาเรียนรู้พุทธธรรม คุณธรรมจริยธรรม และวิถีชุมชน.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 9 (1). หน้า 103-137.
2. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2562). “จดหมายเหตุฟาน ฟลีต: เรื่องเล่าของความเปลี่ยนแปลง.” วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 7 (1). หน้า 84-103.
3. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2561). “บทวิจารณ์หนังสือทฤษฎีกับการวิจารณ์ศิลปะ: ทัศนะของนักวิชาการไทย.” วารสารแก่นดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 1 (1). หน้า 167-172.
4. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2561). “วิชากวี: แนวคิดของ “คำหลวง” ในพระนลคำหลวงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 35 (2). หน้า 200-228.
5. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2559). “ดวงใจแผ่นดิน.” ฐานะและความสำคัญของพระมหากษัตริย์ พระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทอแพรดอกไม้ในสายธารา กรองปัญญาเป็นแพรดอกไม้ไหว้ครู ๖๐ ปี รองศาสตราจารย์ ดร.สุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา , 0 ( ). หน้า .
6. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2559). “สัมภารวิบาก: อสงไขยกาลกับปณิธานพระโพธิสัตว์ .” วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ, 18 (35). หน้า 72-83.
7. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2556). “ประชุมสุภาษิตสอนหญิง มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญา และคุณค่าต่อสังคม.” วารสารไทยศึกษา, 9 ( 1). หน้า 197-203.
8. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2553). “พระราชปุจฉา : ประเพณีและวรรณคดี.” วารสารไทยคดีศึกษา, 7 (1). หน้า 56-105.
9. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2553). “ผู้หญิงในกฎหมายตราสามดวง .” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 5 (1). หน้า 39-82.
10. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2552). “การบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์ในฐานะผู้สังเกตการณ์.” วารสารไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 5 (1). หน้า 185-221.
11. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2543). “ธรรมสุภาษิต: วรรณกรรมสอนธรรมะ.” ศิลปากร, 43 (5). หน้า 96-100.
12. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2542). “ประดนธรรม: วรรณกรรมธรรมะ.” ศิลปากร, 42 (2). หน้า 101- 107.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Pisit Kobbun. (2022). "SIMPLICITY AND INDEPENDENCE: THE BEAUTY IN ISAN PAINTINGS IN THE MEKONG REGION". Humanities, Arts and Social Sciences Studies, 22 (1). Page 32 - 38.
2. Pisit Kobbun. (2018). "The Value and Roles of Buddhist Thai Literature in Thai Society". Humanities, Arts and Social Sciences Studies, 8 (2). Page 377-397.
3. Pisit Kobbun. (2016). "A Synthetic on the Major Concepts and Characteristic of Buddhist Thai Literature". Rian Thai: International Journal of Thai Studies, 9 ( -). Page 99-122.
4. Pisit Kobbun. (2015). "The Jatakas in Narratives and Buddhist Art in Lao Culture". Silpakorn University Journal of Social Sciences, Humanities, and Arts, 15 (3). Page 37-60.
5. Pisit Kobbun. (2009). "Praratchapuccha: Development and Significance in Buddhist Society". MANUSYA: Journal of Humanities Regular, 12 (2). Page 31-45.
6. Pisit Kobbun. (2005). "The Significance of Puccha-vissajjana in the Buddhist Literature". Manusya: Journal of Humanities, 8 (2). Page 30-43.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2561). อีสานศึกษาในนิทานโบราณคดี. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ "โลกกับธรรม ภูมิปัญญาความรู้ในงานพุทธศิลป์อีสาน", จัดโดยสถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เมื่อวันที่22-23 กุมภาพันธ์ 2561 ณ โรงแรมพลูแมน จังหวัดขอนแก่น.
2. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2560). การละเล่นในฮูปแต้มอีสาน. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิถีไทยกับการใช้เวลาว่าง", จัดโดยสถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่15 มีนาคม 2560. ณ ห้องร่วมฤดี โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพฯ.
3. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2559). ฮูปแต้มฮิมโขง: การสร้างสรรค์และบริบททางวัฒนธรรม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ความเชื่อ เรื่องเล่า ตำนานกับชาติพันธุ์ในลุ่มน้ำโขง, จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ร่วมกับ สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่11 กุมภาพันธ์ 2559 ณ หอประชุมมหาวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร .
4. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2559). ภาวลักษณ์สามพระโพธิสัตว์. ในการประชุมวิชาการเรื่อง อโห ภูมิพโล โพธิสัตโต, จัดโดยมหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่9 กันยายน 2559 .
5. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2558). พุทธศิลป์พื้นถิ่นอีสาน: วิถีพุทธ วิถีสุข. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ วิถีแห่งความสุขชุมชน, จัดโดยสถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อวันที่18 มิถุนายน 2558 ณ โรงแรมอมรินทร์ลากูน พิษณุโลก.
6. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2555). บทละครโทรทัศน์เรื่องอิเหนา: จากเก่าสู่ใหม่. ในการประชุมวิชาการเนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ 2555, จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่21 สิงหาคม 2555 .
7. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2554). การตีความชาดกในคัมภีร์หลังพระไตรปิฎก. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ วัฒนธรรมชาดกในสังคมไทย, จัดโดยสถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อวันที่1 กรกฎาคม 2554.
8. พิสิทธิ์ กอบบุญ. (2553). วรรณกรรมพระพุทธศาสนาในบริบทสังคมร่วมสมัย. ในการประชุมวิชาการเรื่อง เรื่องเล่าพุทธศาสนากับวัฒนธรรมไทย-ลาว, จัดโดยสถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เมื่อวันที่2 มิถุนายน 2553 ณ โรงแรมสุณีย์แกรนด์ .

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Pisit Kobbun. (2017). Buddhist Art and Politics: A Case Study of Painting. In The 13th International Conference on Humanities and Social Sciences, During 2 November 2017. Faculty of Humanities and Social Sciences , Khon Kaen University, Thailand.
2. Pisit Kobbun. (2016). Paintings along the Mekong: Geography and the Way of Life of the Community. In The 12th International Conference on Humanities and Social Sciences, During 14 November 2016. Faculty of Humanities and Social Sciences , Khon Kaen University, Thailand.
3. Pisit Kobbun. (2013). The Jatakas in Tales and Buddhist Arts in Lao Culture. In The Fourth International of Lao Studies Conference (4th ILSC), During 19 April 2013. University of Wisconsin-Madison , U.S.A.
4. Pisit Kobbun. (2013). The Buddhist literatures presented at Prachetuphon Vimonmangklaram Temple: Context and Roles in Society. In The 9th International Conference on Humanities and Social Sciences, During 14 November 2013. Faculty of Humanities and Social Sciences , Khon Kaen University, Thailand.
5. Pisit Kobbun. (2012). The Role of Buddhist Literature. Thailand Research Fund. In , During 19 August 2012. Thailand Research Fund, Holiday Inn Hotel, Petchburi.
6. Pisit Kobbun. (2011). The Concept of Buddhist Literature. In , During 19 August 2011. Thailand Research Fund, Holiday Inn Hotel, Petchburi.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ : ภาษา วรรณกรรมไทย

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น