ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาตรี อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2551
ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยทักษิณ ประเทศไทย 2545
ปริญญาเอก ศึกษาศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยทักษิณ ประเทศไทย 2542

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. ณฐ อังศุวิริยะ. (2564). อักษรและอักขรวิธีไทย. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
2. ณฐ อังศุวิริยะ. (2561). เอกสารคำสอน เรื่อง ภาษาศาสตร์ภาษาไทย. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
3. ชนกพร อังศุวิริยะ. (2560). พัฒนาการเขียนภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
4. ชนกพร อังศุวิริยะ. (2559). ภาษากับสังคม. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.

3.2 งานวิจัย    
1. ชนกพร อังศุวิริยะ. (2560). กลวิธีการใช้ภาษากับอุดมการณ์ในโฆษณาการเงินประเด็นการออมและ การเป็นหนี้ผ่านวาทกรรมโฆษณาทางโทรทัศน์ไทย. สงขลา: คณะศิลปะศาสตร์: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ().
2. ชนกพร อังศุวิริยะ. (2555). กลวิธีทางภาษาในการศึกษาความรุนแรงในภาคใต้ผ่านหน้าหนึ่ง หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นภาคใต้และหนังสือพิมพ์แห่งชาติ. สงขลา: คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ().
3. ชนกพร อังศุวิริยะ. (2554). การวิเคราะห์เชิงอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์ของชื่ออาหารในอำเภอหาดใหญ่. สงขลา: คณะศิลปะศาสตร์: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. กฤษฎา กันติชล และ ณฐ อังศุวิริยะ. (2564). “กลวิธีทางภาษาสู่การนำเสนอภาพแทนนักแสดงชายและนักแสดงหญิง กรณีตกเป็นประเด็นข่าวซุบซิบดารา.” วิวิธวรรณสาร, 5 (3). หน้า 267 - 297.
2. ณฐ อังศุวิริยะ, บุษกร โกมลตรี และ จตุพร เพชรบูรณ์. (2563). “กลวิธีการใช้ภาษาและความเชื่อในเรื่องความรักที่ปรากฏในบทเพลงไทยสากลปัจจุบัน.” วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10 (2). หน้า 155-184.
3. ณฐ อังศุวิริยะ. (2562). “ กลวิธีภาษาในประเด็นการเป็นหนี้และการออมที่ปรากฏผ่านสื่อ โฆษณาทางโทรทัศน์.” มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 20 (1). หน้า 11 - 40.
4. ณฐ อังศุวิริยะ. (2562). “ ภาษากับอุดมการณ์ทางการเงินในสื่อโฆษณาการเงินทางโทรทัศน์ไทย.” วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 39 (2). หน้า 32 - 51.
5. นูรุลฮูดา หะยีสะนิ และ ณฐ อังศุวิริยะ. (2562). “วิเคราะห์ข้อผิดพลาดการเขียนเรียงความภาษาไทยของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาแม่ในพื้นที่สาม จังหวัดชายแดนใต้.” วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 14 (49). หน้า 31 - 40.
6. ชนกพร อังศุวิริยะ. (2560). “วาทกรรมการเงิน: สินเชื่อจากสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์.” วารสาร มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 3 (1). หน้า 95 - 106.
7. ชนกพร อังศุวิริยะ. (2559). “ การอ้างถึงที่ปรากฏในหนังสือหลักราชการพระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.” วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย บูรพา, 24 (44). หน้า 195 - 217.
8. ชนกพร อังศุวิริยะ. (2559). “การใช้คำแสดงทัศนภาวะจากข่าวความรุนแรงจังหวัดในชายแดน ภาคใต้ผ่านหน้าหนึ่งของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นภาคใต้และหนังสือพิมพ์ระดับชาติ .” วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 13 (1). หน้า 27 - 37.
9. ชนกพร อังศุวิริยะ. (2558). “บทวิจารณ์หนังสือ เรื่อง Language and the Market Society: Critical Reflections on Discourse and Dominance.” วารสารนิด้าภาษาและ การสื่อสาร, 26 (20). หน้า 134 – 139.
10. ชนกพร อังศุวิริยะ. (2558). “ ทัศนภาวะในวาทกรรมการเงิน: สินเชื่อ บัตรเครดิตและบัตรกดเงิน สดจากสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์.” วารสารภาษาและภาษาศาสตร์, 34 (1). หน้า 1 - 17.
11. ชนกพร อังศุวิริยะ. (2557). “คำเรียกชื่ออาหารในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ตามแนว อรรถศาสตร์ชาติพันธุ์.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 6 (1). หน้า 17 - 30.
12. ชนกพร อังศุวิริยะ. (2557). “วาทกรรมความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ผ่านหนังสือพิมพ์ ท้องถิ่นภาคใต้และหนังสือพิมพ์ระดับชาติ.” วารสารคณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 31 (2). หน้า 29 - 54.
13. ชนกพร อังศุวิริยะ. (2556). “ คำเรียกชื่อว่านในภาษาไทย : การวิเคราะห์ตามแนวอรรถศาสตร์ ชาติพันธุ์.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 32 (2). หน้า 40 - 51.
14. กฤษฎา กันติชล, ณฐ อังศุวิริยะ. (2022). “ปัญหาสิ่งแวดล้อม : การศึกษากลวิธีการใช้ภาษาจาก พาดหัวข่าวออนไลน์.” วารสารปาริชาต, 35 (4). หน้า 147-164.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Chanokporn Angsuviriya. (2015). "A Relation between Language and Horoscope Discourse on Web sites ". Journal of Korean Association of Thai Studies, 21 (2). Page 27 - 63.
2. Chanokporn Angsuviriya. (2015). "Linguistic Devices Reflecting Violence in Border Provinces of Southern Thailand on Front Pages of Local and Major Newspapers ". Silpakorn University Journal of Social Sciences, Humanities, and Arts, 15 (1). Page 51 - 72.
3. Chanokporn Angsuviriya. (2015). " Linguistic Strategies which Showed Femininity in Thai Women’s Magazines in 1906 – 1976". Southeast Asia Journal, 25 (1). Page 211 - 234.
4. Chanokporn Angsuviriya. (2015). "Power Issues in the Perception of Women in the Media". Journal of Korean Association of Thai Studies, 22 (1). Page 37 - 67.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. ณฐ อังศุวิริยะ. (2562). ภาษาและวาทกรรมการเงินประเด็นการเป็นหนี้และการออมจาก โฆษณาทางโทรทัศน์. ในการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา หัวข้อ “เสริมพลัง: ต่อยอดงานวิจัยเพื่อประโยชน์ต่อชุมชนสู่ความยั่งยืน, จัดโดย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เมื่อวันที่30 มีนาคม 2562.
2. เบญญา ปานสัสดีและชนกพร อังศุวิริยะ. (2561). วัจนกรรมในภาพยนตร์โฆษณาของ ธนญชัย ศรศรีวิชัย. ในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม , จัดโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม เมื่อวันที่11 มกราคม 2561.
3. นูรุลฮูดา รัตนเยี่ยม และชนกพร อังศุวิริยะ. (2561). กลวิธีแสดงวัจนกรรมการขอโทษของชาว ไทยมุสลิม: กรณีศึกษานักศึกษาไทยมุสลิม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต หาดใหญ่. ในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติมหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคาม, จัดโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เมื่อวันที่11 มกราคม 2561.
4. นูรุลฮูดา หะยีสะนิและชนกพร อังศุวิริยะ. (2561). วิเคราะห์ข้อผิดพลาดการเขียนเรียงความ ภาษาไทยของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีภาษามลายูเป็นภาษาแม่ : การศึกษาใน พื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้. ในการประชุมวิชาการบัณฑิตศกษาระดับชาติ สรรพศาสตร์ สรรพศลป์, จัดโดยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่28 มิถุนายน 2561.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Pavirasa Praditsorn and Chanokporn Angsuviriya. (2016). Act Sequenceing of News Talk Television Program Discourse: Rueang Lao Chao Ni and Rueang Lao Sao-Athit in 2015. In the 8th International Conference on Humanities and Social Sciences (ICHiSS) 2016 , During 27 - 29 May 2016. “Innovation in Humanities and Social Sciences: Opportunities and Challenges”, Malaysia..
2. Chanokporn Angsuviriya. (2016). Financial Discourse: Analysis of Lone TV Commercials. In International Conference Commemorating The 50th Anniversary of the Department of Thai Hankuk University of Foreign Studies, During 27 October 2016. “Thai Language Education and Thai Studies In Asia in the 21th Century”, Korea.
3. Chanokporn Angsuviriya. (2015). Beholding Power. In New discovery of ASEAN & North Bay of Bay of Bengal Regions , During 12 มิถุนายน 2015. มหาวิทยาลัยฮันกุ๊ก ภาษาและกิจการต่างประเทศ , ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี.
4. Chanokporn Angsuviriya. (2014). A Relation between Language and Horoscope Discourse on Web Pages. In Formation of ASEAN Community and Unity through Diversity, During 12 ธันวาคม 2014. มหาวิทยาลัยฮันกุ๊กภาษาและ กิจการต่างประเทศ , ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี.
5. Chanokporn Angsuviriya. (2014). The linguistic devise reflected in the violence in border–provinces in the south of Thailand on the front page of local and national newspapers. In การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ICL 2014 , During 14 - 15 เมษายน 2014. International Conference on Linguistics, ประเทศอิตาลี.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น