ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D.(Library Science) Texas Woman’s University, U.S.A. 2525
ปริญญาโท M.L.S.(Library Science) Queens College of the City University of New York, U.S.A. 2518
ปริญญาตรี กศ.บ.(ภาษาอังกฤษ) วิทยาลัยวิชาชีพศึกษาปทุมวัน ประเทศไทย 2508

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. ยุพิน เตชะมณี และคนอื่น ๆ. (2534). การสำรวจระดับความรู้ความสามารถของบุคลากรที่ให้บริการข้อมูลสารนิเทศที่ผู้บริหารต้องการ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
2. ยุพิน เตชะมณี. (2533). ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
3. ยุพิน เตชะมณี. (2524). เอกสารภาควิชาบรรณารักษ์ศาสตร์ เล่มที่ 1. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
4. ยุพิน เตชะมณี. (2522). บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
5. ยุพิน เตชะมณี, ทิพวัลย์ ตุลยะสุข และสุวรรณา โสมพะโยม. (2522). คู่มือการเขียนรายงาน ภาควิทยานิพนธ์. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 งานวิจัย    
1. ยุพิน เตชะมณี และคนอื่นๆ. (2534). การสำรวจระดับความต้องการความสามารถของบุคลากรที่ให้บริการข้อมูลสารนิเทศที่ผู้บริหารต้องการ. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
2. เรณู คุปตัณเจียร, ยุพิน เตชะมณี และหัสยา เถียรวิทวัส. (2533). กระบวนการบรรณบำบัด แก่เยาวชนในสถานแรกรับเด็กชายภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
3. ยุพิน เตชะมณี และคนอื่นๆ. (2531). การศึกษาความต้องการรับความรู้ทางวิชาการและความคิดเห็นของประชากรในชนบทที่มีต่อการเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการแก่ชุมชนโดยใช้เทป. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
4. ยุพิน เตชะมณี, ภรณี ศิริโชติ และกุลธิดา ท้วมสุข. (2529). การศึกษาความต้องการครูบรรณารักษ์และความรู้ความสามารถของครูบรรณารักษ์ตามความคาดหวังของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ยุพิน เตชะมณี. (2550). “สรุปและร่วมอภิปราย การสัมมนาวิชาการเรื่อง Trends in Administrating Libraries with Digital Information and Reference Services.” อินฟอร์เมชั่น , 14 (2). หน้า 85-97.
2. เรมวล นันท์ศุภวัฒน์, พีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์, วิจิตร ศรีสุพรรณ และยุพิน เตชะมณี. (2548). “การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ.” พยาบาลสาร, 32 (1). หน้า 1-15.
3. ยุพิน เตชะมณี. (2544). “ทำอย่างไรห้องสมุดจึงจะมีชีวิต.” บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มข, 19 (2). หน้า 10-17.
4. นวลละออง อรรถรังสรรค์, ยุพิน เตชะมณี และภรณี ศิริโชติ. (2544). “การศึกษาการดำเนินงานของแหล่งสารนิเทศฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย.” บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ ศาสตร์ มข, 19 (1). หน้า 67-84.
5. ยุพิน เตชะมณี. (2543). “ปฏิรูปการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีคิดใหม่ ทำใหม่ไม่เคยหยุดนิ่ง.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ (มหาวิทยาลัยขอนแก่น) , 17 (3). หน้า 1-11.
6. อณพสิษฐ ไชยเชษฐ์, ยุพิน เตชะมณี และสมาน ลอยฟ้า. (2543). “การรับสารสนเทศด้านการเมืองของประชาชนชุมชนหนองใหญ่ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น.” บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มข, 18 (3). หน้า 88-100.
7. ยุพิน เตชะมณี. (2541). “2 ทศวรรษ : อดีต ปัจจุบันและอนาคต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ (มหาวิทยาลัยขอนแก่น) , 16 (1). หน้า 1-12.
8. ยุพิน เตชะมณี. (2537). “ การส่งเสริมการอ่านนอกโรงเรียน .” บรรณารักษศาสตร์ มข, 12 (2). หน้า 1-9.
9. ยุพิน เตชะมณี. (2536). “บริการจัดหาเอกสารของบริษัทเอกชน : ทางเลือกที่ดีกว่าของห้องสมุดหรือ.” บรรณารักษศาสตร์ มข, 12 (1). หน้า 7-15.
10. ยุพิน เตชะมณี. (2535). “ สารานุกรมปัจจุบัน : เก่าพบใหม่.” บรรณารักษศาสตร์ มข, 11 (1). หน้า 45-51.
11. ยุพิน เตชะมณี. (2534). “ รายจ่ายสำหรับวัสดุการอ่าน:วิเคราะห์แต่ละภูมิภาค.” บรรณารักษศาสตร์ มข, 9 (3). หน้า 60-63.
12. ยุพิน เตชะมณี. (2533). “ภาพประกอบการเพิ่มความเข้าใจในเนื้อเรื่อง.” บรรณารักษศาสตร์ มข, 8 (3). หน้า 1-8.
13. ยุพิน เตชะมณี. (2532). “การฝึกงานของโรงเรียนบรรณารักษศาสตร์.” บรรณารักษศาสตร์ มข, 8 (1). หน้า 1-12.
14. ยุพิน เตชะมณี. (2529). “อุดช่องว่างในครอบครัวด้วยการอ่าน.” บรรณารักษศาสตร์ มข, 4 (3). หน้า 55-61.
15. ยุพิน เตชะมณี. (2528). “พระสงฆ์กับงานห้องสมุดในชนบท.” บรรณารักษศาสตร์ มข, 3 (2). หน้า 33-38.
16. ยุพิน เตชะมณี. (2528). “บรรณารักษ์ศาสตร์: ชื่อวิชาชีพที่น่าทบทวน.” บรรณารักษศาสตร์ มข, 3 (2). หน้า 59-62.
17. ยุพิน เตชะมณี. (2527). “ความสำคัญและบทบาทของห้องสมุดโรงเรียนต่อการเรียนของนักเรียนระดับประถมศึกษา.” บรรณารักษศาสตร์ มข, 2 (2). หน้า 22-31.
18. ยุพิน เตชะมณี. (2526). “ เกมส์ประกอบการอ่าน.” บรรณารักษศาสตร์ มข, 1 (2). หน้า 1-11.
19. ยุพิน เตชะมณี. (2526). “พัฒนาหลักสูตรบรรณารักษ์ศาสตร์.” บรรณารักษศาสตร์ มข, 1 (2). หน้า 69-83.
20. ยุพิน เตชะมณี. (2526). “การใช้ทรัพยากรห้องสมุดร่วมกัน.” บรรณารักษศาสตร์ มข, 1 (2). หน้า 1-8.
21. ยุพิน เตชะมณี. (2525). “ระบบห้องสมุดแห่งชาติอังกฤษ.” บรรณารักษศาสตร์ มข, 1 (1). หน้า 1-9.
22. ยุพิน เตชะมณี. (2521). “วิธีการหาหนังสือในห้องสมุด.” วิทยาสาร มข, 6 (1). หน้า 42-47.
23. Maitaouthong, T. , Tuamsuk, K., Techamanee, Y. (2012). “The roles of university libraries in supporting the integration of information literacy in the course instruction.” Malaysian Journal of Library and Information Science, 7 (1). หน้า 51-64.
24. Maitaouthong, T. , Tuamsuk, K., Techamanee, Y. (2012). “Factors affecting the integration of information literacy in the teaching and learning processes of general education courses.” Journal of Educational Media and Library Science, 49 (2). หน้า .
25. Maitaouthong, T. , Tuamsuk, K., Techamanee, Y. (2010). “Development of the Instructional Model by Integrating Information Literacy in the Class Learning and Teaching Processes.” Education for Information, 28 (2-4). หน้า 137-150.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     48     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรสารสนเทศดุษฎีบัณทิต)
412 999 ดุษฎีนิพนธ์
412 801 Academic Writing
       5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรสารสนเทศศาสตรมหาบัณฑิต)
412 704 Communication Skills for Professions
412 711 Management of Knowledge & Information Organization
412 719 การจัดการห้องสมุดและศูนย์สารนิเทศ
412 721 การอ่านวรรณกรรมบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
412 733 ห้องสมุดเคลื่อนที่
412 892 แนวโน้มและประเด็นปัญหาทางบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
412 898 การค้นคว้าอิสระ
412 899 วิทยานิพนธ์
       5.3 ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑิต)
412 453 แหล่งบริการสารนิเทศในประเทศไทย
412 411 การบริหารและดำเนินงานห้องสมุด
412 414 ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น