ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. Linguistics University of Leeds U.K. 2545
ปริญญาโท M.A. Communications Studies University of Leeds U.K. 2542
ปริญญาตรี อ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ1) ภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2540

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. สาวิตรี คทวณิช. (2549). วาทกรรมศึกษาเพื่อการวิจัยทางสังคม: กรอบทฤษฎีเพื่อการวิจัยเชิงประจักษ์ในกฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ และจันทิมา เอียมานนท์ (บรรณาธิการ), มองสังคมผ่านวาทกรรม . กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 23-48.

3.2 งานวิจัย    
1. สาวิตรี คทวณิช. (2558). อาเซียน: กรณีศึกษาบทบาทและวาทกรรมของสื่อสารมวลชนในกลุ่มประเทศลุ่มน้ําโขง . ขอนแก่น: สํานักงบประมาณ . ().
2. สาวิตรี คทวณิช. . (2556). ทบทวนเรื่องการสื่อสารในภาวะวิกฤติ การสื่อสารในภาวะวิกฤติ. -: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ . ().
3. สาวิตรี คทวณิช. (2555). Schema in Thai Traditional Pharmacopoeia. Schema in Thai Traditional Pharmacopoeia: คณะภาษาและการสื่อสาร . (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. Sompong Khanapornvorakarn, สาวิตรี คทวณิช. (2565). “Intercultural Pragmatic Analysis of “Sorry” in Inflight Service Refusals by Flight Attendants: A Case Study of a Thai Airline.” วารสารภาษา, 63 (-). หน้า 148-178.
2. วาลุกา เหล่าเกื้อ, สาวิตรี คทวณิช. (2565). “การปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกึ่งความจริงในการสอนภาษาอังกฤษผ่านสื่อ: กรณีศึกษารายการสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 18 (2). หน้า 206-235.
3. สาวิตรี คทวณิช. (2564). “Gender Identification in Language Other than Mother-Tongue: A Case of Non-Thai Listeners Deciphering a Thai Male Speaker’s Gender.” MANUSYA: Journal of Humanities, 24 (1). หน้า 126-145.
4. พิมพ์ผกา ไชยโชค และสาวิตรี คทวณิช. (2562). “การศึกษาวัจนกรรมในเพลงประท้วง (Protest Songs) ยอดนิยมตลอดกาล (A Study of Speech Acts on the Best Protest Songs of At time), MF Connexion.” Journal of Humanities and Social Sciences, 8 (2). หน้า 125-153.
5. ชนาภา เมืองงามสมบูรณ์ และสาวิตรี คทวณิช. (2561). “การศึกษาการสื่อสารเพื่อจัดการความขัดแย้งวาทกรรมพื้นที่สาธารณะประชาธิปไตย: กรณีศึกษารายการเถียงให้รู้เรื่องทางสถานีโทรทัศน์ ไทยพีบีเอส.” วารสารอัลฮิกมะห์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี, 8 (16). หน้า 1-9.
6. วรธนิก โพธิจักร, สาวิตรี คทวณิช. (2561). “วาทกรรมคาราโอเกะ: กรณีศึกษาร้านคาราโอเกะเลียบชายแดนแม่น้ำโขง.” NIDA Case Research Journal, 10 (1). หน้า 76-105.
7. ศริยา พัฒนแก้ว และสาวิตรี คทวณิช. (2560). “การ์ตูนล้อการเมือง: สื่อสร้างความบันเทิงหรือความเกลียดชัง.” NIDA Journal of Language and Communication, 22 (32). หน้า 103-124.
8. รัชชา เชาวน์ศิริ และสาวิตรี คทวณิช. (2558). “กลวิธีการนําเสนอภาพลักษณ์ของตัวละครผิวดําและตัวละคร ผิดขาวในภาพยนตร์ฮอลลีวูดที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับประเด็นเหยียดเชื้อชาติและการเลือกปฏิบัติต่อชาวแอฟริกันอเมริกัน: การวิเคราะห์ตัวบท. .” วารสารศิลปศาสตร์, 15 (1). หน้า 31-44 .
9. สาวิตรี คทวณิช. . (2557). “การเมืองเรื่องการปฏิเสธ: กรณีศึกษารัฐบาลนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร .” วารสารภาษาและภาษาศาสตร์, 33 (1). หน้า 62-86.
10. ซูฮาดา หีมเบ็ญสัน, สาวิตรี คทวณิช. (2556). “ กลวิธีทางวาทกรรมที่ใช้ในหนังสือพิมพ์ไทยรายวัน : กรณีข่าวการบริหารจัดการน้ำของรัฐบาล.” วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 53 (4). หน้า 103-126.
11. Som-in, W. and Gadavanij, S.. (2017). “Hydropower Dam and Development, Whose Development and for Whom?: A Lesson Learnt from Pak Mun Dam.” NIDA Case Research Journal, 9 (1). หน้า 119-148.
12. Duanprakhon, P. and Gadavanij, S. . (2014). “ Critical Discourse Analysis of News Headlines: A Case of Youth Crime in Thailand.” วารสารภาษาและภาษาศาสตร์, 32 (2). หน้า 99-118.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Wu, G. , Gadavanij, S.. (2024). "The Representation of Middle Class in Chinese Magazine: A Multimodal Critical Discourse Analysis, 1995-2021". Language, Discourse and Society, 12 (1). Page 117–133.
2. Khanapornvorakarn, S. , Gadavanij, S.. (2022). "Intercultural Pragmatic Analysis of “Sorry” in In-flight Service Refusals by Flight Attendants: A Case Study of a Thai Airline". PASAA, 63 (-). Page 148–178.
3. Kijratanakoson, N. , Gadavanij, S.. (2022). "Marketing the (idealized) male body? Communication strategies of Thai cosmetic hospitals". International Journal of Marketing Semiotics and Discourse Studies, 10 (-). Page 1-28.
4. Gadavanij, S. (2021). "Gender identification in language other than mother-tongue: A case of non-thai listeners deciphering a thai male speaker’s gender". Manusya, 24 (1). Page 126–145.
5. Saengprang, S., Gadavanij, S. (2021). "Cyberbullying: The case of public figures". LEARN Journal: Language Education and Acquisition Research Network, 14 (1). Page 344–369.
6. Smutradontri, P., Gadavanij, S. (2020). "Fandom and identity construction: an analysis of Thai fans’ engagement with Twitter". Humanities and Social Sciences Communications, 7 (1). Page 177.
7. Gadavanij, S. . (2020). "Contentious Polities and Political Polarization in Thailand: Post Thaksin Reflections.". Discourse and Society, 31 (1). Page 44-63.
8. Osatananda, V. , Gadavanij, S.. (2019). "Materializing gay identity: An analysis of gay-sounding speech in Thai". Journal of Language and Sexuality, 8 (1). Page 2211–3770.
9. Osatananda, V. and Gadavanij, S.. (2018). "Materializing Gay Identity: An Analysis of Gay Sounding Speech in Thai". Journal of Language and Sexuality, 8 (1). Page 30-52.
10. Sangma, C., Chuakheaw, D., Jongkon, N. and Gadavanij, S. (2010). "Computer Techniques for Drug Development from Thai Traditional Medicine". Current Pharmaceutical Design, 16 (5). Page 1753-1784.
11. Gadavanij, Savitri. . (2002). "Intertextuality as discursive strategies: A case of No-confidence debates in Thailand. in Nelson, D. (ed)". Leeds Working Papers in Linguistics and Phonetics, 9 (-). Page 35-55 .

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. สาวิตรี คทวณิช. (2558). Power, levelopment and Equality in the late Moderrity. . ในรายงานสืบเนื่องจาก การจัดประชุมวิชาการระดับชาติ ประจําปี 2559 เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร ศาสตร์ครบรอบ 50 ปี หน้า 463-480 , จัดโดย- เมื่อวันที่-.
2. สาวิตรี คทวณิช. (2557). ทบทวนเรื่องการสื่อสารในภาวะวิกฤติ การสื่อสารในภาวะวิกฤติ VS ภาวะวิกฤติใน . ในการสื่อสาร รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ เนื่องในโอกาสครบรอบ 48 ปี แห่งการ , จัดโดยสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เมื่อวันที่-.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. สาวิตรี คทวณิช. . (2553). นวัตกรรมการสอนภาษาอังกฤษ. In การมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการสร้างเอกสาร , During -. ประกอบการสอนการอ่านภาษาอังกฤษเชิงวิชาการคณะกองทุนส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย สพบ., -.
2. สาวิตรี คทวณิช. (2552). การวิเคราะห์วาทกรรมการเมืองในสังคม. In กรณีศึกษาภาษาการเมืองภาคประชาชน คณะภาษาและการสื่อสาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, During -. -, -.
3. สาวิตรี คทวณิช. (2551). ฐานข้อมูลตํารับยาไทยระยะที่ 2. In ิ, During -. บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) , -.
4. สาวิตรี คทวณิช. (2551). ฐานข้อมูลตํารับยา ตําราไทย (ไตรย) . In โครงการฟื้นฟูความรู้ทางการแพทย์แผนไทย บริษัท ปตท, During -. สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) , -.
5. สาวิตรี ควณิช. (2550). วาทกรรมวิทยาศาสตร์สําหรับบุคคลทั่วไป. In กรณีศึกษาการสื่อสารวิทยาศาสตร์ สุขภาพในประเทศไทย, During -. สํานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว), -.
6. สาวิตรี คทวณิช. (2548). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์เพื่อการพัฒนา. In กรณีศึกษาภาษาของนักการเมืองสตรีในประเทศไทย , During -. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ , -.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     21     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณทิต สาขาภาษาไทย)
PLA 7001 Discourse Studies for Social Research
PLA 6000 Theoretical Approaches to Language Studies
PLA 7002 Cultural and Media Studies
PLA 9901 Dissertation
       5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณทิต สาขาภาษาไทย)
LAC 6001 Discourse Analysis and Applications
LAC 7004 Language and Power
LAC 7017 Media Studies
LAC 9000 Independent Study

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น