ระบบประวัติผลงานอาจารย์ และบริการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Faculty Profiles and Student Service System of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University
ระดับ | ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) | ชื่อสถาบัน, ประเทศ | ปี พ.ศ. ที่จบ |
---|---|---|---|
ปริญญาเอก | Ph.D. (Anthropology) | University of Washington USA | 2544 |
ปริญญาโท | ศศ.ม. (วิจัยประชากรและสังคม) | มหาวิทยาลัยมหิดล ไทย | 2531 |
ปริญญาตรี | ศศ.บ. (รัฐศาสตร์) | มหาวิทยาลัยรามคำแหง ไทย | 2528 |
1. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2558). ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและการเงินอีสาน. กรุงเทพฯ: ธนาคารแห่งประเทศไทย. |
2. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2553). เบื้องลึกการเสียดินแดนและปัญหาปราสาทพระวิหารจาก ร.ศ. 112 ถึงปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สมาคมประวัติศาสตร์ในพระราชอุปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. |
3. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2552). จักรวรรดินิยมเหนือแม่น้ำโขง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน. |
4. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2551). ประวัติศาสตร์จีนอีสาน. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
5. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2551). เศรษฐกิจอีสานหลังมีทางรถไฟ (พ.ศ. 2453-2488). ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
6. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2551). ผลกระทบของสะพานมิตรภาพไทย-ลาว 2: มุกดาหาร-สุวรรณเขต. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
7. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2547). "การสร้างและสืบทอดอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง" ใน ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี (บ.ก.), อัตลักษณ์ ชาติพันธุ์ และความเป็นชายขอบ. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. |
8. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2547). "การสร้างและสืบทอดอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง". ในวาทกรรมอัตลักษณ์, หนังสือรวมบทความจากการประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 2 เรื่อง ชาติพันธุ์: วิถีชีวิตและความหลายหลายทางชาติพันธุ์ในโลกปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. |
9. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2546). "ความรู้และมายาคติเกี่ยวกับชาติพันธุ์ม้ง". ใน ชูพินิจ เกษมณี และคณะ (บ.ก.), ชาติพันธุ์และมายาคติ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรางวัฒนธรรม. |
10. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2546). "อัตลักษณ์ทางเครือข่ายญาติของกลุ่มชาติพันธุ์ม้งท่ามกลางความทันสมัย". ใน ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี (บ.ก.), อัตลักษณ์ ชาติพันธุ์ และความเป็นชายขอบ. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. |
11. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา และชยันต์ วรรธนะภูติ. (2546). วิถีชีวิตชาติพันธุ์ในเมือง. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. |
12. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2545). เศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสาน: ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจอีสานหลังสงครามโลกครั้งที่สองถึงปัจจุบัน (2488-2544). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. |
13. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2545). เศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสานห้าทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (พ.ศ. 2488-2544)กรณีศึกษาบ้านวังสวาบ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. |
14. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2544). วิวัฒนาการและผลกระทบของเทคโนโลยีการเกษตร จากสุโขทัยถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยขอนแก่น และสำนักพิมพ์มติชน. (2544 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2548 สำนักพิมพ์มติชน. |
15. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2543). ประวัติศาสตร์ลาว ค.ศ. 1779-1975. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
16. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2540). การเปลี่ยนแปลงวิถีครอบครัวและชุมชนอีสาน: กรณีกะเลิง. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. |
17. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2539). การประเมินผลโครงการส่งเสริมเกษตรกรปลูกป่าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ: กรมป่าไม้. |
18. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2538). รายงานการวิจัยประเมินผลโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการใช้สารเสพติด ในชุมชนแม่สาใหม่. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. |
19. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2538). เวทีผู้ถูกท่องเที่ยว. เชียงใหม่: บทความและการอภิปรายทางวิชาการ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. |
20. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2538). บทบาทของยานยนต์ญี่ปุ่นในการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจสังคมอีสานหลังสงครามโลกครั้งที่สองถึงปัจจุบัน. -: SUMITOMO. |
21. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2538). การเปลี่ยนแปลงวิถีครอบครัวและชุมชนอีสาน: กรณีผู้ไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. |
22. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2537). สุภาษิตคำสอนม้ง. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. |
23. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2537). การศึกษาภูมิปัญญาชาวบ้านเพื่อแก้ปัญหาครอบครัวและชุมชน: กรณีศึกษาธุรกิจชุมชนขนาดเล็กกลุ่มเกษตรกรท่านาแวงน่าง อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
24. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2537). พฤติกรรมและประสิทธิภาพของแรงงานในภาคอีสาน. -: CIDA, RDI. |
25. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2535). พัฒนาการของการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงอาชีพของชาวอีสานในชุมชนเมืองหลัก:กรณีศึกษาบ้านกอก จังหวัดขอนแก่น. -: CIDA, TDRI, RDI. |
26. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2535). ป่าชุมชนอีสาน (ป่าวัฒนธรรม). -: LDI, RDI. |
27. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2535). พัฒนาการของการใช้ที่ดินในชุมชนเมืองหลักภาคอีสาน. -: CIDA, TDRI, RDI. |
28. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2535). การเปลี่ยนแปลงอาชีพของชาวอีสานในชุมชนเมืองหลักตั้งแต่ตั้งชุมชนจนถึงปัจจุบัน. -: CIDA, TDRI, RDI. |
29. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2534). ศักยภาพของหมู่บ้านภาคกลาง. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. |
30. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2534). วัฒนาการของการบุกเบิกที่ทำกินในเขตป่า: กรณีศึกษาบ้านยูคาลิปตัส จังหวัดขอนแก่น. -: ธนาคารโลก. |
31. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2534). การจัดการศึกษาด้านสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาสาธารณสุข. เชียงใหม่: รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. |
32. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา และคณะ. (2534). การวิจัยทางชาติพันธ์ุในลาว-ไทย. เชียงใหม่: รายงานการประชุมทางวิชาการ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. |
33. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2533). ศักยภาพของชุมชนอีสาน: กรณีศึกษาบ้านฝาง. -: LDI, RDI. |
34. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2533). การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตพืชเศรษฐกิจกับภาวะหนี้สินในหมู่บ้านอีสาน. -: CIDA, RDI. |
35. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2530). การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในชุมชนในลุ่มแม่น้ำาสงคราม พ.ศ. 2475-ปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. |
36. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2529). การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจการเมือง สังคมและวัฒนธรรมในหมู่บ้านอีสาน: กรณีบ้านโนนตะแบก. -: RDI, USAID. |
1. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2561). ชาติพันธุ์สัมพันธ์กับความมั่นคงในพื้นที่ชายแดนภาคเหนือของไทยและลาว. -: -. (รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เสนอต่อสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย). |
1. | เจียฉี หยาง และ ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2567). “มุมมองการแก้ไขปัญหาความยากจนภาคเหนือประเทศไทย จากนโยบายการออกไปนอกประเทศขององค์กรพัฒนาเอกชนนานาชาติจีน.” วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7 (5). หน้า 3009-3020. |
2. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2567). “พื้นที่ทางการเมืองของกลุ่มชาติพันธุ์ในการเลือกตั้งระดับชาติ.” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 20 (1). หน้า 307-332. |
3. | เจิ้นคุน หลิว และ ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2566). “ภูมิหลังทางสังคมและวัฒนธรรมของชาติพันธุ์ที่ส่งผ่านอัตลักษณ์บนผลิตภัณฑ์ผ้าปักม้งเหวินซาน.” วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6 (2). หน้า 915-926. |
4. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา และ มุกดาวรรณ ศักดิ์บุญ. (2564). “การศึกษาเพื่อความเป็นไทยกับกลุ่มชนพื้นเมืองในภาคเหนือ.” วารสารธรรมศาสตร์, 40 (2). หน้า 68-97. |
5. | เสาวลักษณ์ เรืองศรี และ ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2563). “พหุวัฒนธรรมศึกษากับครูพันธุ์ใหม่.” วารสารปัญญาภิวัฒน์, 122 (1). หน้า 234-246. |
6. | วีระนุช แย้มยิ้ม, ชูศักดิ์ วิทยาภัค, ประสิทธิ์ ลีปรีชา และ ชรินทร์ มั่งคั่ง. (2562). “ยุทธวิธีการดำรงชีพของชาวนาและสถานการณ์ข้าวพันธ์พื้นเมืองในกระบวนการโลกาภิวัตน์.” วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 59 (2). หน้า 20-43. |
7. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา, และ กนกวรรณ มีพรหม. (2562). “ชนพื้นเมืองกับการเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมของปกาเกอะญอพื้นที่แม่แจ่ม.” วารสารพัฒนศาสตร์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2 (2). หน้า 140-177. |
8. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2560). “นามสกุลกับกระบวนการทำให้เป็นไทยในกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง.” วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 29 (1). หน้า 85 - 124. |
9. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2557). “กระบวนทัศน์การศึกษาชาติพันธุ์สัมพันธ์.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 10 (3). หน้า 219-242. |
10. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2557). “ศิวิไลซ์ข้ามพรมแดน : การเผยแพร่ศาสนาของม้งโปรเตสแตนต์ในเอเชียอาคเนย์.” วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 26 (1). หน้า 15-51. |
11. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2556). “พหุวัฒนธรรมนิยมจากรากหญ้า : ขบวนการเคลื่อนไหวของเครือข่ายชนเผ่าพื้นเมืองและชาติพันธุ์ในประเทศไทย.” วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 25 (2). หน้า 59-106. |
12. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2556). “บทบรรณาธิการ พหุวัฒนธรรมนิยม : ความหมาย กระบวนทัศน์ และสถานภาพ.” วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 25 (2). หน้า 7-27. |
13. | ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2550). “ระบบการศึกษาและภาษาในกระบวนการสร้างรัฐชาติไทย.” วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 19 (1). หน้า 276-309. |
14. | Sungkitsin, S., Saenghong, N., Nawarat, N. & Prasit Leepreecha, P. (2023). “Promoting Pre-Service Teachers' Multicultural Competence through Culturally Responsive Pedagogy-Based Art Education Course.” Rajabhat Chiang Mai Research Journal, 24 (1). หน้า 116-130. |
1. | Yang, J., Saenghong, N,. Nawarat, N, & Leepreecha, P. (2024). "Critical Insights into Ethnic Minority Education Policies in the People's Republic of China: A Study of the Dai Language Curriculum". rEFLections, 31 (3). Page 1369-1385. |
2. | Haenssgen, Marco J., Leepreecha, P., Sakboon, M., Chu, Ta-Wei., Vlaev, I. & Auclair, E. (2023). "The impact of conservation and land use transitions on the livelihoods of indigenous peoples: A narrative review of the northern Thai highlands". Forest Policy and Economics, 157 (5). Page 103092. |
3. | Promsri, N., Saenghong, N., Nawarat, N, & Leepreecha, P. (2023). "Fostering Multicultural Competence in Primary School Students and Teachers through Participatory Media Production". Rajabhat Chiang Mai Research Journal, 24 (3). Page 114-124. |
4. | Idrus, R., Chua, L., Bala, P., ...Thambiah, S., Somiah, V. (2022). "Views from the Ground: Reflections on Studying Indigeneity in Southeast Asia". Sojourn, 37 (1). Page 113–127. |
5. | Sa-ard Khamtan, Pongchawee Vaiyavutjamai, Nannaphat Saenghong, Prasit Leepreecha. (2021). "EDUCATIONAL SUPERVISION MODEL FOR ESTABLISHING MULTICULTURAL TEACHING". Journal of Education Naresuan University , 23 (4). Page 419-433. |
6. | Leepreecha, P. (2020). "Heroes of the plain of jars: Hmong monuments and social memory in Laos and America". Journal of Mekong Societies, 16 (3). Page 44–78. |
7. | Thaklong, N., Leepreecha, P., Wittayapak, C., Mangkang, C. (2019). "Trans-national education system for students from the Mekong region Thai Universities". Asian Journal of University Education, 15 (1). Page 2–19. |
8. | Leepreecha, P.. (2019). "Becoming Indigenous Peoples in Thailand". Journal of Southeast Asian Studies, 50 (1). Page 32–50. |
9. | Baird, I.G., Leepreecha, P., Yangcheepsutjarit, U. (2017). "Who should be considered ‘Indigenous’? A survey of ethnic groups in northern Thailand". Asian Ethnicity, 18 (4). Page 543–562. |
10. | Evrard, O., Leepreecha, P. (2009). "Monks, Monarchs and Mountain Folks: Domestic Tourism and Internal Colonialism in Northern Thailand". Critique of Anthropology, 29 (3). Page 300–323. |
11. | Kunstadter, P., Lennington Kunstadter, S., Podhisita, C., Leepreecha, P. (1993). "Demographic variables in fetal and child mortality: Hmong in Thailand". Social Science and Medicine, 36 (9). Page 1109–1120. |
12. | Kunstadter, P., Kunstadter, S.L., Leepreecha, P., ...Thao, R.S., Yang, W.S. (1992). "Causes and consequences of increase in child survival rates: ethnoepidemiology among the Hmong of Thailand". Human biology; an international record of research, 64 (6). Page 821–841. |
ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319 Facebook : งานบัณฑิต
อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น