ระบบประวัติผลงานอาจารย์ และบริการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Faculty Profiles and Student Service System of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี    Word-Full CV    Word-CV 5 ปี
คุณสมบัติ : สอบ ป.โท-เอก เกณฑ์ 58 และป.โท-เอก เกณฑ์ 65 ผ่านความเห็นชอบ กก.บศ. ครั้งที่ 1/2568, 7 ม.ค.68
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รศ.ดร.
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Anthropology) University of Washington USA 2544
ปริญญาโท ศศ.ม. (วิจัยประชากรและสังคม) มหาวิทยาลัยมหิดล ไทย 2531
ปริญญาตรี ศศ.บ. (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง ไทย 2528

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2558). ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและการเงินอีสาน. กรุงเทพฯ: ธนาคารแห่งประเทศไทย.
2. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2553). เบื้องลึกการเสียดินแดนและปัญหาปราสาทพระวิหารจาก ร.ศ. 112 ถึงปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สมาคมประวัติศาสตร์ในพระราชอุปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.
3. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2552). จักรวรรดินิยมเหนือแม่น้ำโขง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน.
4. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2551). ประวัติศาสตร์จีนอีสาน. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
5. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2551). เศรษฐกิจอีสานหลังมีทางรถไฟ (พ.ศ. 2453-2488). ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
6. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2551). ผลกระทบของสะพานมิตรภาพไทย-ลาว 2: มุกดาหาร-สุวรรณเขต. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
7. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2547). "การสร้างและสืบทอดอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง" ใน ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี (บ.ก.), อัตลักษณ์ ชาติพันธุ์ และความเป็นชายขอบ. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
8. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2547). "การสร้างและสืบทอดอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง". ในวาทกรรมอัตลักษณ์, หนังสือรวมบทความจากการประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 2 เรื่อง ชาติพันธุ์: วิถีชีวิตและความหลายหลายทางชาติพันธุ์ในโลกปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
9. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2546). "ความรู้และมายาคติเกี่ยวกับชาติพันธุ์ม้ง". ใน ชูพินิจ เกษมณี และคณะ (บ.ก.), ชาติพันธุ์และมายาคติ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรางวัฒนธรรม.
10. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2546). "อัตลักษณ์ทางเครือข่ายญาติของกลุ่มชาติพันธุ์ม้งท่ามกลางความทันสมัย". ใน ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี (บ.ก.), อัตลักษณ์ ชาติพันธุ์ และความเป็นชายขอบ. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
11. ประสิทธิ์ ลีปรีชา และชยันต์ วรรธนะภูติ. (2546). วิถีชีวิตชาติพันธุ์ในเมือง. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
12. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2545). เศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสาน: ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจอีสานหลังสงครามโลกครั้งที่สองถึงปัจจุบัน (2488-2544). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
13. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2545). เศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสานห้าทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (พ.ศ. 2488-2544)กรณีศึกษาบ้านวังสวาบ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
14. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2544). วิวัฒนาการและผลกระทบของเทคโนโลยีการเกษตร จากสุโขทัยถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยขอนแก่น และสำนักพิมพ์มติชน. (2544 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2548 สำนักพิมพ์มติชน.
15. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2543). ประวัติศาสตร์ลาว ค.ศ. 1779-1975. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
16. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2540). การเปลี่ยนแปลงวิถีครอบครัวและชุมชนอีสาน: กรณีกะเลิง. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
17. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2539). การประเมินผลโครงการส่งเสริมเกษตรกรปลูกป่าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ: กรมป่าไม้.
18. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2538). รายงานการวิจัยประเมินผลโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการใช้สารเสพติด ในชุมชนแม่สาใหม่. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
19. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2538). เวทีผู้ถูกท่องเที่ยว. เชียงใหม่: บทความและการอภิปรายทางวิชาการ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
20. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2538). บทบาทของยานยนต์ญี่ปุ่นในการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจสังคมอีสานหลังสงครามโลกครั้งที่สองถึงปัจจุบัน. -: SUMITOMO.
21. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2538). การเปลี่ยนแปลงวิถีครอบครัวและชุมชนอีสาน: กรณีผู้ไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
22. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2537). สุภาษิตคำสอนม้ง. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
23. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2537). การศึกษาภูมิปัญญาชาวบ้านเพื่อแก้ปัญหาครอบครัวและชุมชน: กรณีศึกษาธุรกิจชุมชนขนาดเล็กกลุ่มเกษตรกรท่านาแวงน่าง อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
24. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2537). พฤติกรรมและประสิทธิภาพของแรงงานในภาคอีสาน. -: CIDA, RDI.
25. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2535). พัฒนาการของการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงอาชีพของชาวอีสานในชุมชนเมืองหลัก:กรณีศึกษาบ้านกอก จังหวัดขอนแก่น. -: CIDA, TDRI, RDI.
26. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2535). ป่าชุมชนอีสาน (ป่าวัฒนธรรม). -: LDI, RDI.
27. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2535). พัฒนาการของการใช้ที่ดินในชุมชนเมืองหลักภาคอีสาน. -: CIDA, TDRI, RDI.
28. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2535). การเปลี่ยนแปลงอาชีพของชาวอีสานในชุมชนเมืองหลักตั้งแต่ตั้งชุมชนจนถึงปัจจุบัน. -: CIDA, TDRI, RDI.
29. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2534). ศักยภาพของหมู่บ้านภาคกลาง. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
30. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2534). วัฒนาการของการบุกเบิกที่ทำกินในเขตป่า: กรณีศึกษาบ้านยูคาลิปตัส จังหวัดขอนแก่น. -: ธนาคารโลก.
31. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2534). การจัดการศึกษาด้านสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาสาธารณสุข. เชียงใหม่: รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
32. ประสิทธิ์ ลีปรีชา และคณะ. (2534). การวิจัยทางชาติพันธ์ุในลาว-ไทย. เชียงใหม่: รายงานการประชุมทางวิชาการ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
33. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2533). ศักยภาพของชุมชนอีสาน: กรณีศึกษาบ้านฝาง. -: LDI, RDI.
34. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2533). การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตพืชเศรษฐกิจกับภาวะหนี้สินในหมู่บ้านอีสาน. -: CIDA, RDI.
35. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2530). การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในชุมชนในลุ่มแม่น้ำาสงคราม พ.ศ. 2475-ปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
36. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2529). การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจการเมือง สังคมและวัฒนธรรมในหมู่บ้านอีสาน: กรณีบ้านโนนตะแบก. -: RDI, USAID.

3.2 งานวิจัย    
1. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2561). ชาติพันธุ์สัมพันธ์กับความมั่นคงในพื้นที่ชายแดนภาคเหนือของไทยและลาว. -: -. (รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เสนอต่อสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. เจียฉี หยาง และ ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2567). “มุมมองการแก้ไขปัญหาความยากจนภาคเหนือประเทศไทย จากนโยบายการออกไปนอกประเทศขององค์กรพัฒนาเอกชนนานาชาติจีน.” วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7 (5). หน้า 3009-3020.
2. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2567). “พื้นที่ทางการเมืองของกลุ่มชาติพันธุ์ในการเลือกตั้งระดับชาติ.” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 20 (1). หน้า 307-332.
3. เจิ้นคุน หลิว และ ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2566). “ภูมิหลังทางสังคมและวัฒนธรรมของชาติพันธุ์ที่ส่งผ่านอัตลักษณ์บนผลิตภัณฑ์ผ้าปักม้งเหวินซาน.” วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6 (2). หน้า 915-926.
4. ประสิทธิ์ ลีปรีชา และ มุกดาวรรณ ศักดิ์บุญ. (2564). “การศึกษาเพื่อความเป็นไทยกับกลุ่มชนพื้นเมืองในภาคเหนือ.” วารสารธรรมศาสตร์, 40 (2). หน้า 68-97.
5. เสาวลักษณ์ เรืองศรี และ ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2563). “พหุวัฒนธรรมศึกษากับครูพันธุ์ใหม่.” วารสารปัญญาภิวัฒน์, 122 (1). หน้า 234-246.
6. วีระนุช แย้มยิ้ม, ชูศักดิ์ วิทยาภัค, ประสิทธิ์ ลีปรีชา และ ชรินทร์ มั่งคั่ง. (2562). “ยุทธวิธีการดำรงชีพของชาวนาและสถานการณ์ข้าวพันธ์พื้นเมืองในกระบวนการโลกาภิวัตน์.” วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 59 (2). หน้า 20-43.
7. ประสิทธิ์ ลีปรีชา, และ กนกวรรณ มีพรหม. (2562). “ชนพื้นเมืองกับการเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมของปกาเกอะญอพื้นที่แม่แจ่ม.” วารสารพัฒนศาสตร์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2 (2). หน้า 140-177.
8. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2560). “นามสกุลกับกระบวนการทำให้เป็นไทยในกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง.” วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 29 (1). หน้า 85 - 124.
9. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2557). “กระบวนทัศน์การศึกษาชาติพันธุ์สัมพันธ์.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 10 (3). หน้า 219-242.
10. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2557). “ศิวิไลซ์ข้ามพรมแดน : การเผยแพร่ศาสนาของม้งโปรเตสแตนต์ในเอเชียอาคเนย์.” วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 26 (1). หน้า 15-51.
11. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2556). “พหุวัฒนธรรมนิยมจากรากหญ้า : ขบวนการเคลื่อนไหวของเครือข่ายชนเผ่าพื้นเมืองและชาติพันธุ์ในประเทศไทย.” วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 25 (2). หน้า 59-106.
12. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2556). “บทบรรณาธิการ พหุวัฒนธรรมนิยม : ความหมาย กระบวนทัศน์ และสถานภาพ.” วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 25 (2). หน้า 7-27.
13. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2550). “ระบบการศึกษาและภาษาในกระบวนการสร้างรัฐชาติไทย.” วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 19 (1). หน้า 276-309.
14. Sungkitsin, S., Saenghong, N., Nawarat, N. & Prasit Leepreecha, P. (2023). “Promoting Pre-Service Teachers' Multicultural Competence through Culturally Responsive Pedagogy-Based Art Education Course.” Rajabhat Chiang Mai Research Journal, 24 (1). หน้า 116-130.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Yang, J., Saenghong, N,. Nawarat, N, & Leepreecha, P. (2024). "Critical Insights into Ethnic Minority Education Policies in the People's Republic of China: A Study of the Dai Language Curriculum". rEFLections, 31 (3). Page 1369-1385.
2. Haenssgen, Marco J., Leepreecha, P., Sakboon, M., Chu, Ta-Wei., Vlaev, I. & Auclair, E. (2023). "The impact of conservation and land use transitions on the livelihoods of indigenous peoples: A narrative review of the northern Thai highlands". Forest Policy and Economics, 157 (5). Page 103092.
3. Promsri, N., Saenghong, N., Nawarat, N, & Leepreecha, P. (2023). "Fostering Multicultural Competence in Primary School Students and Teachers through Participatory Media Production". Rajabhat Chiang Mai Research Journal, 24 (3). Page 114-124.
4. Idrus, R., Chua, L., Bala, P., ...Thambiah, S., Somiah, V. (2022). "Views from the Ground: Reflections on Studying Indigeneity in Southeast Asia". Sojourn, 37 (1). Page 113–127.
5. Sa-ard Khamtan, Pongchawee Vaiyavutjamai, Nannaphat Saenghong, Prasit Leepreecha. (2021). "EDUCATIONAL SUPERVISION MODEL FOR ESTABLISHING MULTICULTURAL TEACHING". Journal of Education Naresuan University , 23 (4). Page 419-433.
6. Leepreecha, P. (2020). "Heroes of the plain of jars: Hmong monuments and social memory in Laos and America". Journal of Mekong Societies, 16 (3). Page 44–78.
7. Thaklong, N., Leepreecha, P., Wittayapak, C., Mangkang, C. (2019). "Trans-national education system for students from the Mekong region Thai Universities". Asian Journal of University Education, 15 (1). Page 2–19.
8. Leepreecha, P.. (2019). "Becoming Indigenous Peoples in Thailand". Journal of Southeast Asian Studies, 50 (1). Page 32–50.
9. Baird, I.G., Leepreecha, P., Yangcheepsutjarit, U. (2017). "Who should be considered ‘Indigenous’? A survey of ethnic groups in northern Thailand". Asian Ethnicity, 18 (4). Page 543–562.
10. Evrard, O., Leepreecha, P. (2009). "Monks, Monarchs and Mountain Folks: Domestic Tourism and Internal Colonialism in Northern Thailand". Critique of Anthropology, 29 (3). Page 300–323.
11. Kunstadter, P., Lennington Kunstadter, S., Podhisita, C., Leepreecha, P. (1993). "Demographic variables in fetal and child mortality: Hmong in Thailand". Social Science and Medicine, 36 (9). Page 1109–1120.
12. Kunstadter, P., Kunstadter, S.L., Leepreecha, P., ...Thao, R.S., Yang, W.S. (1992). "Causes and consequences of increase in child survival rates: ethnoepidemiology among the Hmong of Thailand". Human biology; an international record of research, 64 (6). Page 821–841.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2568     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ : ชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมือง, ม้งศึกษา, การท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์


ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

For Administrator