ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ภาษาไทย-คติชนวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2559
ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร ประเทศไทย 2546
ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2540

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    
1. คำพา ยิ่งคง และสารภี ขาวดี. (2564). การประกอบสร้างอัตลักษณ์ของชุมชนเพื่อรองรับการท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี กรณีศึกษา บ้านเชียงสง ตำบลเมืองลีง อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์. อุบลราชธานี: คณะศิลปศาสตร์. ().
2. สารภี ขาวดี และ คำพา ยิ่งคง. (2564). อัตลักษณ์ของชุมชนท่องเที่ยวชายแดนกับการสร้างมูลค่าเพิ่ม. อุบลราชธานี: คณะศิลปศาสตร์. ().
3. สารภี ขาวดี. (2555). การวิเคราะห์สารคดีสำหรับเยาวชนเรื่อง “พวกเราแปลงร่างได้. อุบลราชธานี: คณะศิลปศาสตร์. ().
4. สารภี ขาวดี. (2553). การศึกษาวิเคราะห์พิธีกรรม. อุบลราชธานี: คณะศิลปศาสตร์. ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ปนัดดา คำมาโฮม และ สารภี ขาวดี. (2564). “กลวิธีการประพันธ์ในกวีนิพนธ์ของพรชัย แสนยะมูล.” วิวิธวรรณสาร, 5 (2). หน้า 255-281.
2. กมลพรรณ ดีรับรัมย์ และ สารภี ขาวดี. (2564). “พลวัตของเรื่องเล่าและกลวิธีการสร้างอารมณ์ขัน ในรายการจำอวดหน้าจอ ช่วง ฉ่อย เดอะซีรีย์.” วารสารไทยศึกษา, 17 (1). หน้า 87-120.
3. คำพา ยิ่งคง และ สารภี ขาวดี. (2563). “การประกอบสร้างอัตลักษณ์ของชุมชนเพื่อรองรับการท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี กรณีศึกษา บ้านเชียงสง ตำบลเมืองลีง อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์.” วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 14 (1). หน้า 95-111.
4. วิจิตรา รุ่งแสง และ สารภี ขาวดี. (2563). “คุณค่าในวรรณกรรมเยาวชนของสุมาลี บำรุงสุข.” วิวิธวรรณสาร, 4 (3). หน้า 87 - 118.
5. สารภี ขาวดี. (2562). “งานเขียนแนว “สาระบันเทิง” : กรณีศึกษาสารคดีสำหรับเยาวชน เรื่อง “พวกเราแปลงร่างได้” ผลงานของร้อยเอกหญิงธิติมา ช้างพุ่ม.” วารสารไทยศึกษา, 15 (2). หน้า 113-163.
6. สารภี ขาวดี. (2560). “ประเพณีแซนโฎนตาบูชาบรรพบุรุษ : บทบาทประเพณีที่มีต่อชาวสุรินทร์ในปัจจุบัน.” วารสารไทยศึกษา, 13 (2). หน้า 153-182.
7. สารภี ขาวดี. (2559). “ประเพณีแซนโฏนตา : การสืบทอดและการดำรงอยู่ในบริบทพื้นที่ดั้งเดิม.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 7 (2). หน้า 131-163.
8. สารภี ขาวดี. (2558). “พระโพธิสัตว์ในฐานะผู้เปี่ยมด้วยเมตตาและเป็นแสงแห่งปัญญาแก่ครอบครัว.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 11 (1). หน้า 69-115.
9. สารภี ขาวดี. (2555). “บทบาทหน้าที่ของพิธีกรรม"โจลมะม็วดต่อชุมชนเขมร จ.สุรินทร์.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 8 (1). หน้า 153-196.
10. สารภี ขาวดี. (2554). “การศึกษาวิเคราะห์พิธีกรรม การโจลมะม็วด : กรณีศึกษาจากชุมชนเขมร หมู่บ้านปรือเกียน ตำบลนอกเมือง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 7 (2). หน้า 149-188.
11. สารภี ขาวดี. (2554). ““ขวัญสงฆ์” วรรณกรรมกรรมเยาวชนที่ให้สาระและบันเทิงผ่านชั้นเชิงทางวรรณศิลป์.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 7 (1). หน้า 23-68.
12. สารภี ขาวดี. (2548). “วสิษฐ เดชกุญชร : ผู้รังสรรค์วรรณกรรมให้ทำหน้าที่มากกว่าเป็น...คันฉ่อง.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2 (1). หน้า 71-94.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. สารภี ขาวดี และ ธีระพันฑ์ ศิริเทพ. (2564). บทบาทหน้าที่งานบุญกินเนื้อของชุมชนบ้านดงดิบ ตำบลห้วยยาง อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 9 มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจำปี 2564, จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี เมื่อวันที่2 สิงหาคม 2564.
2. วิจิตรา รุ่งแสง และ สารภี ขาวดี. (2564). แนวคิดเกี่ยวกับเด็กในวรรณกรรมเยาวชนของ สุมาลี บำรุงสุข. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 9 มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจำปี 2564, จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี เมื่อวันที่2 สิงหาคม 2564.
3. ทิพวรรณ์ แสงกอง และ สารภี ขาวดี. (2563). แนวคิดในนวนิยายสำหรับเยาวชนที่ได้รับรางวัลแว่นแก้ว รางวัลชนะเลิศ พ.ศ.2551 –พ.ศ.2560. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ และ ระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2563, จัดโดยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันที่1 พฤษภาคม 2563.
4. สารภี ชาวดี และ ศิรชัช บุดดา. (2563). บทบาทของประเพณีบุญเดือนสามในชุมชนไทกะเลิง บ้านม่วง จังหวัดนครพนม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและ ระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2563, จัดโดยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันที่1 พฤษภาคม 2563.
5. หทัยชนก ศรีสุธรรม และ สารภี ขาวดี. (2563). การนำเสนอความเป็นไทยในรายการ The Mask Line Thai. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2563, จัดโดยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันที่1 พฤษภาคม 2563.
6. สารภี ขาวดี. (2561). การปรับใช้อนุภาคตัวละครจากนิทานไทยในวรรณกรรมเยาวชนเรื่อง “เจ้าชายไม่วิเศษ. ในการประชุมวิชาการระดับชาติด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561, จัดโดยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เมื่อวันที่22 มิถุนายน 2561.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Sarapee Khowdee. (2017). Sandonta Ancestor Worship: From Family Ritual to Provincial Tradition of Surin Province. In ๑๓th International Conference on Thai Studies, During 15-18 July 2017. Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น