ระบบประวัติผลงานอาจารย์ และบริการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Faculty Profiles and Student Service System of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี    Word-Full CV    Word-CV 5 ปี
คุณสมบัติ : รอมติคณะกรรมการ
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผศ.ดร.
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก PhD in Applied Linguistics Lancaster University UK 2561
ปริญญาโท : MA (Hons.) in Language and Communication NIDA Thailand 2552
ปริญญาตรี ศศ.บ. (ภาษาศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไทย 2545

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ประภัสสร สีหรักษ์, อำนาจ ปักษาสุข และ อนุชิต ตู้มณีจินดา. (2568). “กลวิธีความไม่สุภาพในข้อความกลั่นแกล้งบนสื่อสังคมออนไลน์ภาษาไทย.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 25 (1). หน้า -.
2. อนุชิต ตู้มณีจินดา และ อำนาจ ปักษาสุข. (2567). “การกล่าวออกตัวในภาษาไทย : เครื่องมือลดการคุกคามหน้าหรือวัจนกรรมตรง?.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 24 (3). หน้า 319-349.
3. อำนาจ ปักษาสุข, พรทิพย์ เฉิดฉินนภา และอนุชิต ตู้มณีจินดา. (2567). “อุดมการณ์และวิถีปฏิบัติทาง สังคมจากการปนภาษาอังกฤษในภาษาไทยในการสื่อสารของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.).” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 24 (1). หน้า 412-422.
4. อำนาจ ปักษาสุข และ อนุชิต ตู้มณีจินดา. (2566). “การกล่าวออกตัวและความสำคัญของข้อมูลการตระหนักรู้ทางอภิวัจนปฏิบัติศาสตร์.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23 (3). หน้า 659-685.
5. อนุชิต ตู้มณีจินดา. (2565). “พหุพลวัตภาษาอังกฤษโลก: โอกาสและความท้าทาย.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 22 (2). หน้า 412-437.
6. อนุชิต ตู้มณีจินดา, อำนาจ ปักษาสุข และพรทิพย์ เฉิดฉินนภา. (2565). “ลักษณะการปนภาษาอังกฤษในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (ศบค.).” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22 (3). หน้า 492-510.
7. Anuchit Toomaneejinda. (2018). “The Interface between SLA and English as a Lingua Franca (ELF): A dynamic perspective.” NIDA Journal of Language and Communication, 23 (34). หน้า 151-161.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Gablasova, D. , Harding, L. , Bottini, R. , ... Toomaneejinda, A. & Zottola, A.. (2024). "Building a corpus of student academic writing in EMI contexts: Challenges in corpus design and data collection across international higher education settings". Research Methods in Applied Linguistics, 3 (3). Page Article number 100140 (1-12).
2. Toomaneejinda, A. & Paksasuk, A. (2024). "Multifunctional Disclaimers in Thai Communication: Perceptions and Factors Influencing Interpretation Through a Mixed-Methods Approach". PASAA, 69 (-). Page 123–152.
3. Saengboon, S. , Panyaatisin, K. & Toomaneejinda, A. (2022). "The Roles of Grammar in English Language Teaching: Local Viewpoints". PASAA, 63 (-). Page 179-204.
4. Toomaneejinda, A. & Saengboon, S. (2022). "Interactional Sociolinguistics: The Theoretical Framework and Methodological Approach to ELF Interaction Research". LEARN Journal: Language Education and Acquisition Research Network, 15 (1). Page 156–179.
5. Toomaneejinda, A. , Harding, L.. (2018). "Disagreement practices in ELF academic group discussion: Verbal, nonverbal and interactional strategies". Journal of English as a Lingua Franca, 7 (2). Page 307–332.
6. Toomaneejinda, A. (2017). "Zone of proximal development, dynamic assessment and learner empowerment". LEARN Journal, 10 (1). Page 176-185.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2568     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :


ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

For Administrator