ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาตรี Ph.D. (Gender Studies and Thai Literature) University of London U.K. 2548
ปริญญาเอก M.A. (English Language in Literary Studies) University of Nottingham U.K. 2539
ปริญญาเอก ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2537

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. อรทัย เพียยุระ. (2562). ทฤษฎีตะวันตกกับการวิจารณ์วรรณกรรม. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ทุนสนับสนุนการผลิตตํารา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น).113 หน้า.
2. อรทัย เพียยุระ. (2560). วรรณกรรมกับเพศภาวะ. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ทุนสนับสนุนการผลิตตํารา สํานักนวัตกรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น). 133 หน้า.

3.2 งานวิจัย    
1. อรทัย เพียยุระ. (2561). เพศภาวะและเพศวิถีในวรรณกรรมอาเซียน. ขอนแก่น: โครงการบ่มเพาะนักวิจัยเพื่อให้สร้างผลงานในระดับนานาชาติ ประจำปีงบประมาณ 2555. ().
2. อรทัย เพียยุระ. (2561). วรรณกรรมโพสต์โมเดิร์นไทย. ขอนแก่น: โครงการส่งเสริมการทําวิจัยสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
3. อรทัย เพียยุระ. (2560). ผู้ชายกับภาษาในเว็บไซต์หาคู่. ขอนแก่น: โครงการส่งเสริมการทําวิจัยสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
4. Orathai Piayura. (2015). Metaphor, Sexuality and the Teaching of Thai Literature. Proceedings of 2015 International Conference on Language, Education, and Innovation . Malaysia: SEAMEO SEN.. (pp.49-54).
5. Orathai Piayura. (2014). Gender Sexuality in ASEAN Literature: Thai, Lao and Vietnamese Contexts. -: Proceedings of 2014 International Conference on Business Strategy and Social Sciences. Pak Publishing Group. Malaysia. (414-418.).
6. Orathai Piayura. (2014). Gender and Sexuality in Thai SEA Write Awarded Literature. Proceedings of 2014 International Conference on Information and Social Sciences. Japan: International Business Academic Consortium. (197-203.).
7. Sopit Summart & Orathai Piayura. (2013). Gender, Nature and Culture: Hidden Power in ThaaithaoSutjaritgoon’s Novel. Proceedings of the Colloquium in Humanities and Social Sciences. ชลบุรี: Burapha University, Thailand. (282-298.).
8. Orathai Piayura and Jackkrit Duangpattra. (2011). Proceeding of 2011 International Conference on Social Science and Humanity. Singapore: Institute of Electrical and Electronics Engineers. (PP.V2-377-V2-379).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. อรทัย เพียยุระ, มารศรี สอทิพย์, และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2566). “การสร้างภาพลักษณ์เกย์แบบใหม่ผ่านน้ำเสียงผู้เล่าในวรรณกรรมเรื่องฤดูหลงป่า.” Journal of Roi Kaensarn Academi, 8 (4). หน้า 161-173.
2. นนทิกานต์ จูห้อง และอรทัย เพียยุระ. (2566). “หลังม่าน (Behind the scenes): ปิตาธิปไตยในนวนิยายวาย.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 23 (3). หน้า 261-272.
3. รณยุทธ เอื้อไตรรัตน์ และอรทัย เพียยุระ. (2565). “กระบวนการเปลี่ยนแปลงเพศวิถีจากชายสู่ชายรักชาย : กรณีศึกษาละครชุดชายรักชายทางไลน์ทีวีช่วงปี 2558-2563.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 22 (2). หน้า 273-284.
4. ณัฐยา อิทธิจันทร์ และอรทัย เพียยุระ. (2565). “การนำเสนอภาพผู้หญิงสมัยใหม่ในสังคมทศวรรษ 2530 ในนวนิยายเรื่อง จินตปาตี.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 22 (2). หน้า 235-248.
5. อนันตศักดิ์ พลแก้วเกษ และอรทัย เพียยุระ. (2565). “ความสัมพันธ์ทางเพศในวรรณกรรมแนววาย.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 22 (2). หน้า 285-296.
6. วิเชษฐชาย กมลสัจจะ, วรวรรธน์ ศรียาภัย, อรทัย เพียยุระ, และวรัญญา ยิ่งยงศักดิ์. (2565). “อัจฉริยลักษณ์การใช้คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษในวรรณกรรมยอพระเกียรติรางวัลยอดเยี่ยมเรื่อง “ลิลิตอัครศิลปิน.” วิวิธวรรณสาร, 6 (2). หน้า 113-136.
7. สิริยากร ก้านสุวรรณ และอรทัย เพียยุระ. (2564). “ทัศนคติต่อการเป็น “แม่ศรีเรือน” ของผู้หญิงที่ปรากฏในนวนิยายชุด ดวงใจเทวพรหม.” วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 29 (2). หน้า 191-216.
8. นุชารัตน์ มุงคุณ และอรทัย เพียยุระ. (2564). “ผู้หญิงกับธรรมชาติในนวนิยายไทยร่วมสมัย มุมมองสตรีนิยมเชิงนิเวศ.” วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6 (2). หน้า 275-288.
9. ทิฆัมพร ทองแถม ณ อยุธยา และ อรทัย เพียยุระ. (2564). “เควียร์ในนิทานสุนทรภู่.” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 38 (2). หน้า 1-20.
10. กาญจนาพร พองพรหม และ อรทัย เพียยุระ. (2564). “ความหลากหลายของมนุษย์วิถีใหม่:รสนิยมการปฏิบัติการทางเพศแบบเควียร์ ในเรื่องสั้นไทยร่วมสมัย พ.ศ. 2553-2562.” วิวิธวรรณสาร, 5 (3). หน้า 55-87.
11. ดิษยทรรศน์ ศรีบุญเรือง และอรทัย เพียยุระ. (2563). “เพศภาวะและเพศวิถีในเสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน.” วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5 (3). หน้า 20-33.
12. นุชารัตน์ มุงคุณ และอรทัย เพียยุระ. (2563). “ผู้หญิงกับธรรมชาติในนวนิยายไทยร่วมสมัย มุมมองสตรีนิยมเชิงนิเวศ.” วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6 (2). หน้า 275 – 288.
13. สญชัย อันภักดี และอรทัย เพียยุระ. (2561). “ผลลัพธ์ของปฏิบัติการทางเพศที่ปรากฏในบทละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 1.” วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 5 (1). หน้า 331-366.
14. มนตรี นิวัฒนุวงค์ ธีรชัย เนตรถนอมศักดิ์ ฟ้ารุ่ง มีอุดร และอรทัย เพียยุระ. (2559). “การพัฒนาหลักสูตรกับความเสมอภาคทางเพศภาวะ.” วารสารวิชาการรมยสาร, 14 (2). หน้า 195-205.
15. Orathai Piayura. (2013). “Metrosexual Men in Thai Classical Literature.” International Journal of Social Science and Humanity. Institute of Electrical and Electronics Engineers, Inc., Singapore , 3 (3). หน้า 218-221.
16. Orathai Piayura. (2013). “Gender, Sexuality and Functionalism in Lao Contemporary Literature. .” Proceedings of 2013 Hong Kong International Conference on Education, Psychology and Society. Higher Education Forum. Hong Kong. , 0 ( ). หน้า 409-413.
17. Orathai Piayura. (2012). “hai Women ,Cross-Cultural Marriage and Sexuality.” International Journal of Social Science and Humanity. Institute of Electrical and Electronics Engineers,Inc, 2 (2). หน้า 156-158.
18. Orathai Piayura. (2011). “Si Phaendin and the Construction of the Female Gender Role.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 28 (.3). หน้า 35-50.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Phonkaewkate Anantasak & Piayura Orathai. (2023). "Asymmetrical Sexual Scripts in Y Literature: Manifestations of a Heteronormative Discourse". LEARN Journal: Language Education and Acquisition Research Network, 2567 (Volume 16, Issue 1). Page Pages 523 - 544.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Orathai Piayura. (2013). Intertextuality and Intersexuality in Thai Erotic Literature. In Proceeding of International Conference on Humanities and Socio - Economic Issues , During 2013. Urban and Regional Development, National Economics University. Vietnam.
2. Apichat Khamwilert & Orathai Piayura. (2013). Characters, Sexualities, and Beliefs in Issan Literature. . In Proceedings of International Conference on Humanities and Socio - Economic Issues, During . Urban and Regional Development. , National Economics University. Vietnam.
3. Disayathat Sribunrueang & Orathai Piayura. (2013). The Presentation of Masculinity and Femininity in Dhammapada Commentary Scripture: Mahamakut Rajawittayalai Version. In Proceedings of 9thInternational Conference on Humanities and Social Sciences, During . Proceedings of 9thInternational Conference on Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand.
4. Kit Sodalee & Orathai Piayura. (2013). The Presentation of ‘Modern Women’Duangtawan’s Novel. In Proceedings of 9thInternational Conference , During . Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand.
5. Orawan Chomdong & Orathai Piayura. (2013). Sexuality, Thai Society and Thai Folk Songs. In Proceedings of 9thInternational Conference , During . Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand.
6. JarkkirchPosri & Orathai Piayura. (2013). The Representation of Male Homosexual in Thai Folk Songs. In Proceedings of 9thInternational Conference , During . Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand.
7. Disayathat Sribunrueang & Orathai Piayura. (2013). Masculinity and Femininity in Buddhist Didactic Literature. In Proceedings of 2013 Hong Kong International Conference , During . Education, Psychology and Society, Higher Education Forum. Hong Kong.
8. Kit Sodalee & Orathai Piayura. (2013). Modern Woman’Discourse in Duangtawan’s Novel. In Proceedings of 2013 Hong Kong International Conference, During . Education, Psychology and Society, Higher Education Forum. Hong Kong.
9. Orathai Piayura. (2013). Gender Sexuality and Functionalism in Lao Contemporary Literature. In Proceedings of 2013 Hong Kong International Conference , During . Education, Psychology and Society, Higher Education Forum.Hong Kong.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     30     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาภาษาไทย)
HS 677 101 ทฤษฎีเพื่อการวิจัยภาษาไทย
HS 677 998 ดุษฎีนิพนธ์
HS 678 204 วรรณกรรมไทยในสื่อร่วมสมัย
       5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรศิลปศา่สตร์บัณทิต สาขาภาษาไทย)
416 431 วรรณกรรมกับเพศภาวะ
416 712 ทฤษฎีการศึกษาวรรณกรรม
416 799 วิทยานิพนธ์
       5.3 ระดับปริญญาตรี (ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย)
416 237 วรรณกรรมสตรี
416 331 การอ่านตัวบทภาษาอังกฤษทางภาษาและวรรณกรรม
416 333 วรรณกรรมวิจารณ์
416 335 วรรณกรรมรักร่วมเพศ
HS 611 204 ภาษาและวัฒนธรรมไทยเพื่อการสื่อสาร

6. ความเชียวชาญ : วรรณคดี วรรณกรรม และเพศวิถี

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น