ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปร.ด. (ไทศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประเทศไทย 2550
ปริญญาโท อ.ม. (วรรณคดีเปรียบเทียบ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2544
ปริญญาตรี ศศ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1, ภาษาและวรรณคดีไทย) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประเทศไทย 2540

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. อรทัย เพียยุระ, มารศรี สอทิพย์, และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2566). “การสร้างภาพลักษณ์เกย์แบบใหม่ผ่านน้ำเสียงผู้เล่าในวรรณกรรมเรื่องฤดูหลงป่า.” Journal of Roi Kaensarn Academi, 8 (4). หน้า 161-173.
2. เต๊ ซุ มอญ และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2566). “ความเมตตากรุณาในนิทานไทยเรื่อง ด้วยรักบันดาล นิทานสีขาว พ.ศ 2550-2551 และ นิทานเมียนมาเรื่อง Khint Thit Pone Pyin พ.ศ 2550-2553: กลวิธีการเล่าเรื่องและแนวคิดเชิงสังคม.” วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 12 (4). หน้า 167-181.
3. พนิดา กุลวงษ์ และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2566). “ความเป็นแฟนตาซีในนวนิยายชุดนวหิมพานต์ ของ อลินา.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 12 (2). หน้า 68-89.
4. อัษฎาวุฒิ ศรีทน และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2565). “การศึกษาเรื่องเล่า ตำนาน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กับการต่อรองเชิงอำนาจ จากทุนภายนอกของชุมชน.” วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 11 (5). หน้า A1-A12.
5. โยธิน ช่างฉลาด และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2565). “อนุภาคเหนือธรรมชาติในรายการช่องส่องผีที่นำเสนอผ่านเว็บไซต์ยูทูบ พ.ศ. 2562-2563.” วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 7 (12). หน้า 971-981.
6. อัษฎาวุฒิ ศรีทน และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). “ตำนานกับพิธีกรรมในการสื่อสารความหมายทางวัฒนธรรมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนในเทือกเขาภูเวียง อำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น.” วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 10 (4). หน้า 197-213.
7. อัษฎาวุฒิ ศรีทน และและอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). “ทุนทางวัฒนธรรมในมิติการท่องเที่ยวชุมชนที่อธิบายผ่านเรื่องเล่า ตำนาน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ในวิถีชีวิตชุมชน.” วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 16 (2). หน้า 141-158.
8. อนันต์ ลากุล, อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2560). “แบบเรื่องและอนุภาคสัตว์สีเผือกในตำนานเมืองล่มภาคอีสาน.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 6 (2). หน้า 37-50.
9. อนันต์ ลากุล, อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2560). “แบบเรื่องและอนุภาคสัตว์สีเผือกในตำนานเมืองล่มภาคอีสาน.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม , 6 (2). หน้า 37-50.
10. ิรินภา ณ ศรีสุข, อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2559). “พลวัตและการสื่อความหมายทางวัฒนธรรมของพิธีกรรมตัดเหมรยแก้บน อำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่และอำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช.” วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 3 (1). หน้า 75-84.
11. อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2558). “แรงงานลาวข้ามพรมแดน คนไทยและเมืองไทยใน เรื่องสั้นของบุนทะนอง ซมไซผน.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 7 (1). หน้า 56-74.
12. อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2558). “การข้ามพรมแดนและเมืองไทยในเรื่องสั้นของบุนทะนอง ซมไซผน.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, 7 (1). หน้า .
13. วัฒนาพร นนลือชา, อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2557). “อุดมการณ์ในละครโทรทัศน์แนวผีของไทย.” วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ , 1 (3). หน้า 26-46.
14. กอบชัย รัฐอุบล, อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2555). “อุดรการณ์ทางเพศที่ปรากฎในมหาเวสสันดรชาดก สำนวนอีสาน.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี , 3 (2). หน้า 112-120.
15. อุมารินทร์ ตุลารักษ์.. (2553). “ภาพแทนผู้หญิงในวรรณกรรมในแบบเรียนลาวชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง คนงาม.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 27 (3). หน้า 22-33.
16. บัวพันธ์ พรหมพักพิง, ภรณี ศิริโชติ, สุวิทย์ ธีรศาศวัต, อุทัยวรรณ ด่านวิวัฒน์, อุมารินทร์ ตุลารักษ์, เทพพร มังธานี, อภิญญา หินนนท์, อาทิตย์ บุดดาดวง. (2551). “การวิจัยทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในรอบ 10 ปี.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 25 (2). หน้า 111-136.
17. อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2550). “วรรณศิลป์และสหบทในบททำขวัญเรือของชาวไทยภาคใต้.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 24 (3). หน้า 51-67.
18. อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2549). “แม่หญิงในวรรณกรรมลาวร่วมสมัยหลังการปฏิวัติชาติประชาธิปไตย ค.ศ.1975.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม , 25 (2). หน้า 59-71.
19. อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2548). “ชาติ ในวรรณกรรมลาวหลังการปฏิวัติ ค.ศ. 1975.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 1 (3). หน้า 121-147.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. อัษฎาวุฒิ ศรีทน และ อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). ตำนานและพิธีกรรมในประเพณีบุญสัจจากับการสื่อสารความหมายทางวัฒนธรรม ของกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่เทือกเขาภูเวียง อำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการโครงการประชุมวิชาการระดับนานาชาติเครือข่ายความร่วมมือ ทางวิชาการและวัฒนธรรม 4 สถาบันการศึกษา หัวข้อ “ภาษาและวัฒนธรรมไทยในวิถีโลกสมัยใหม่” (Thai in the Modern World), จัดโดยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่17-18 ธันวาคม 2563.
2. อัษฏาวุฒิ ศรีทน และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). บ่อน้ำส้างศักดิ์สิทธิ์กับการสื่อสารความหมายทางวัฒนธรรม ของชุมชนเทือกเขาภูเวียง อำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น. ในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติครั้งที่ 22, จัดโดย- เมื่อวันที่25 มีนาคม 2564.
3. นิภาพร ทองอันตัง, ปริยาภัทร สุภิษะ, ภัสรียา บุญจริง,ณัชภัทร คํามูล, ณิชากร คํามาวงษ์และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). การวิเคราะห์ลักษณะร่วมทางดนตรีและวัฒนธรรมของชาวผู้ไทผ่านบทเพลงลูกทุ่งหมอลําไทย-ลาว. ในการประชุมวิชาการสำหรับนักศึกษาด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จุดประกายความรู้สู่ความเป็นเลิศ, จัดโดย- เมื่อวันที่11 พฤศจิกายน 2564.
4. ชนาภา ภูศรีโสม, ศิริพร แสนสะท้าน, สุชาดา สนิทนิตย์สุประวีณ์ ทําดี และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). การเปรียบเทียบลีลาภาษาในเพลงป๊อบไทยและลาว พ.ศ.2554-2258. ในการประชุมวิชาการสำหรับนักศึกษาด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จุดประกายความรู้สู่ความเป็นเลิศ, จัดโดย- เมื่อวันที่11 พฤศจิกายน 2564.
5. กนิษฐา วรนุช, ณัฐริกา สุขทองสา,ธีราภรณ์ เทพสมพร,นรินทร์ลักษณ์ พันธ์ศรี, พัณณิตา เสาเกลียวและอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). การใช้ภาษาต่างประเทศปนภาษาลาวที่ปรากฏในเพลงลาวสมัยใหม่ 480 จากเว็บไซต์ยูทูป ระหว่างปี พ.ศ. 2554-2564. ในการประชุมวิชาการสำหรับนักศึกษาด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จุดประกายความรู้สู่ความเป็นเลิศ, จัดโดย- เมื่อวันที่-/-/2564.
6. ณัฐณิชา ดวงเนตรงาม, กฤติยา เพียนอก, ศุภวรรณ ผลบุตร และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). ลีลาภาษาในเพลงลาวลูกทุ่งแนวช้ํารักปี พ.ศ. 2560 - 2562. ใน การประชุมวิชาการสำหรับนักศึกษาด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จุดประกายความรู้สู่ความเป็นเลิศ, จัดโดย- เมื่อวันที่11 พฤศจิกายน 2564.
7. อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2561). อัตลักษณ์ของตัวละครชายรักชายในซีรีส์เรื่อง Lovesick the series (รักวุ่น วัยรุ่นแสบ). ในการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 47 , จัดโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เมื่อวันที่6 ธันวาคม 2561 .
8. อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2561). อัตลักษณ์ของตัวละครชายรักชายในซีรีส์เรื่อง Lovesick the series (รักวุ่น วัยรุ่นแสบ). . ในในการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 47 , จัดโดยจัดโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เมื่อวันที่เมื่อวันที่6 ธันวาคม 2561.
9. อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2556). ครามมีชีวิต: วัฒนธรรมผ้าย้อมครามของคนไทย-ลาว. ในการประชุม”ผ้าทอในวิถีชีวิตไทย-ไท, จัดโดยสถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อวันที่20 มิถุนายน 2556.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Umarin Tularak and Kobchai Rattaubol. (2013). The Ideology of Female Characters as Manifested in MahavessantaraJataka in I-San Version. In International Conference Humanities and Socio-Economic Issues in Urban and Regional Development, During March 25-25, 2013. Socialist Republic of Vietnam, Hanoi, Vietnam.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     26     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณทิต สาขาภาษาไทย)
416 431 วรรณกรรมกับอัตลักษณ์ถิ่น
416 712 วรรณกรรมกับวัฒนธรรมประชานิยม
416 799 วิทยานิพนธ์

6. ความเชียวชาญ : วรรณคดี วรรณกรรม คติชนวิทยา

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น