ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)
ระดับ | ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) | ชื่อสถาบัน, ประเทศ | ปี พ.ศ. ที่จบ |
---|---|---|---|
ปริญญาเอก | ปร.ด. (ไทศึกษา) | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประเทศไทย | 2550 |
ปริญญาโท | อ.ม. (วรรณคดีเปรียบเทียบ) | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย | 2544 |
ปริญญาตรี | ศศ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1, ภาษาและวรรณคดีไทย) | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประเทศไทย | 2540 |
1. | อรทัย เพียยุระ, มารศรี สอทิพย์, และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2566). “การสร้างภาพลักษณ์เกย์แบบใหม่ผ่านน้ำเสียงผู้เล่าในวรรณกรรมเรื่องฤดูหลงป่า.” Journal of Roi Kaensarn Academi, 8 (4). หน้า 161-173. |
2. | เต๊ ซุ มอญ และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2566). “ความเมตตากรุณาในนิทานไทยเรื่อง ด้วยรักบันดาล นิทานสีขาว พ.ศ 2550-2551 และ นิทานเมียนมาเรื่อง Khint Thit Pone Pyin พ.ศ 2550-2553: กลวิธีการเล่าเรื่องและแนวคิดเชิงสังคม.” วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 12 (4). หน้า 167-181. |
3. | พนิดา กุลวงษ์ และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2566). “ความเป็นแฟนตาซีในนวนิยายชุดนวหิมพานต์ ของ อลินา.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 12 (2). หน้า 68-89. |
4. | อัษฎาวุฒิ ศรีทน และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2565). “การศึกษาเรื่องเล่า ตำนาน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กับการต่อรองเชิงอำนาจ จากทุนภายนอกของชุมชน.” วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 11 (5). หน้า A1-A12. |
5. | โยธิน ช่างฉลาด และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2565). “อนุภาคเหนือธรรมชาติในรายการช่องส่องผีที่นำเสนอผ่านเว็บไซต์ยูทูบ พ.ศ. 2562-2563.” วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 7 (12). หน้า 971-981. |
6. | อัษฎาวุฒิ ศรีทน และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). “ตำนานกับพิธีกรรมในการสื่อสารความหมายทางวัฒนธรรมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนในเทือกเขาภูเวียง อำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น.” วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 10 (4). หน้า 197-213. |
7. | อัษฎาวุฒิ ศรีทน และและอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). “ทุนทางวัฒนธรรมในมิติการท่องเที่ยวชุมชนที่อธิบายผ่านเรื่องเล่า ตำนาน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ในวิถีชีวิตชุมชน.” วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 16 (2). หน้า 141-158. |
8. | อัษฎาวุฒิ ศรีทน และและอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). “การศึกษาเรื่องเล่า ตำนาน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นกับการต่อรองเชิงอำนาจจากทุนภายนอกของชุมชน.” วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 11 (5). หน้า 0. |
9. | อนันต์ ลากุล, อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2560). “แบบเรื่องและอนุภาคสัตว์สีเผือกในตำนานเมืองล่มภาคอีสาน.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 6 (2). หน้า 37-50. |
10. | อนันต์ ลากุล, อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2560). “แบบเรื่องและอนุภาคสัตว์สีเผือกในตำนานเมืองล่มภาคอีสาน.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม , 6 (2). หน้า 37-50. |
11. | ิรินภา ณ ศรีสุข, อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2559). “พลวัตและการสื่อความหมายทางวัฒนธรรมของพิธีกรรมตัดเหมรยแก้บน อำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่และอำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช.” วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 3 (1). หน้า 75-84. |
12. | อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2558). “แรงงานลาวข้ามพรมแดน คนไทยและเมืองไทยใน เรื่องสั้นของบุนทะนอง ซมไซผน.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 7 (1). หน้า 56-74. |
13. | อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2558). “การข้ามพรมแดนและเมืองไทยในเรื่องสั้นของบุนทะนอง ซมไซผน.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, 7 (1). หน้า . |
14. | วัฒนาพร นนลือชา, อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2557). “อุดมการณ์ในละครโทรทัศน์แนวผีของไทย.” วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ , 1 (3). หน้า 26-46. |
15. | กอบชัย รัฐอุบล, อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2555). “อุดรการณ์ทางเพศที่ปรากฎในมหาเวสสันดรชาดก สำนวนอีสาน.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี , 3 (2). หน้า 112-120. |
16. | อุมารินทร์ ตุลารักษ์.. (2553). “ภาพแทนผู้หญิงในวรรณกรรมในแบบเรียนลาวชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง คนงาม.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 27 (3). หน้า 22-33. |
17. | บัวพันธ์ พรหมพักพิง, ภรณี ศิริโชติ, สุวิทย์ ธีรศาศวัต, อุทัยวรรณ ด่านวิวัฒน์, อุมารินทร์ ตุลารักษ์, เทพพร มังธานี, อภิญญา หินนนท์, อาทิตย์ บุดดาดวง. (2551). “การวิจัยทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในรอบ 10 ปี.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 25 (2). หน้า 111-136. |
18. | อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2550). “วรรณศิลป์และสหบทในบททำขวัญเรือของชาวไทยภาคใต้.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 24 (3). หน้า 51-67. |
19. | อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2549). “แม่หญิงในวรรณกรรมลาวร่วมสมัยหลังการปฏิวัติชาติประชาธิปไตย ค.ศ.1975.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม , 25 (2). หน้า 59-71. |
20. | อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2548). “ชาติ ในวรรณกรรมลาวหลังการปฏิวัติ ค.ศ. 1975.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 1 (3). หน้า 121-147. |
1. | อัษฎาวุฒิ ศรีทน และ อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). ตำนานและพิธีกรรมในประเพณีบุญสัจจากับการสื่อสารความหมายทางวัฒนธรรม ของกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่เทือกเขาภูเวียง อำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการโครงการประชุมวิชาการระดับนานาชาติเครือข่ายความร่วมมือ ทางวิชาการและวัฒนธรรม 4 สถาบันการศึกษา หัวข้อ “ภาษาและวัฒนธรรมไทยในวิถีโลกสมัยใหม่” (Thai in the Modern World), จัดโดยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่17-18 ธันวาคม 2563. |
2. | อัษฏาวุฒิ ศรีทน และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). บ่อน้ำส้างศักดิ์สิทธิ์กับการสื่อสารความหมายทางวัฒนธรรม ของชุมชนเทือกเขาภูเวียง อำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น. ในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติครั้งที่ 22, จัดโดย- เมื่อวันที่25 มีนาคม 2564. |
3. | นิภาพร ทองอันตัง, ปริยาภัทร สุภิษะ, ภัสรียา บุญจริง,ณัชภัทร คํามูล, ณิชากร คํามาวงษ์และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). การวิเคราะห์ลักษณะร่วมทางดนตรีและวัฒนธรรมของชาวผู้ไทผ่านบทเพลงลูกทุ่งหมอลําไทย-ลาว. ในการประชุมวิชาการสำหรับนักศึกษาด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จุดประกายความรู้สู่ความเป็นเลิศ, จัดโดย- เมื่อวันที่11 พฤศจิกายน 2564. |
4. | ชนาภา ภูศรีโสม, ศิริพร แสนสะท้าน, สุชาดา สนิทนิตย์สุประวีณ์ ทําดี และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). การเปรียบเทียบลีลาภาษาในเพลงป๊อบไทยและลาว พ.ศ.2554-2258. ในการประชุมวิชาการสำหรับนักศึกษาด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จุดประกายความรู้สู่ความเป็นเลิศ, จัดโดย- เมื่อวันที่11 พฤศจิกายน 2564. |
5. | กนิษฐา วรนุช, ณัฐริกา สุขทองสา,ธีราภรณ์ เทพสมพร,นรินทร์ลักษณ์ พันธ์ศรี, พัณณิตา เสาเกลียวและอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). การใช้ภาษาต่างประเทศปนภาษาลาวที่ปรากฏในเพลงลาวสมัยใหม่ 480 จากเว็บไซต์ยูทูป ระหว่างปี พ.ศ. 2554-2564. ในการประชุมวิชาการสำหรับนักศึกษาด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จุดประกายความรู้สู่ความเป็นเลิศ, จัดโดย- เมื่อวันที่-/-/2564. |
6. | ณัฐณิชา ดวงเนตรงาม, กฤติยา เพียนอก, ศุภวรรณ ผลบุตร และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2564). ลีลาภาษาในเพลงลาวลูกทุ่งแนวช้ํารักปี พ.ศ. 2560 - 2562. ใน การประชุมวิชาการสำหรับนักศึกษาด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จุดประกายความรู้สู่ความเป็นเลิศ, จัดโดย- เมื่อวันที่11 พฤศจิกายน 2564. |
7. | อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2561). อัตลักษณ์ของตัวละครชายรักชายในซีรีส์เรื่อง Lovesick the series (รักวุ่น วัยรุ่นแสบ). ในการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 47 , จัดโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เมื่อวันที่6 ธันวาคม 2561 . |
8. | อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2561). อัตลักษณ์ของตัวละครชายรักชายในซีรีส์เรื่อง Lovesick the series (รักวุ่น วัยรุ่นแสบ). . ในในการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 47 , จัดโดยจัดโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เมื่อวันที่เมื่อวันที่6 ธันวาคม 2561. |
9. | อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2556). ครามมีชีวิต: วัฒนธรรมผ้าย้อมครามของคนไทย-ลาว. ในการประชุม”ผ้าทอในวิถีชีวิตไทย-ไท, จัดโดยสถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อวันที่20 มิถุนายน 2556. |
1. | Umarin Tularak and Kobchai Rattaubol. (2013). The Ideology of Female Characters as Manifested in MahavessantaraJataka in I-San Version. In International Conference Humanities and Socio-Economic Issues in Urban and Regional Development, During March 25-25, 2013. Socialist Republic of Vietnam, Hanoi, Vietnam. |
416 431 | วรรณกรรมกับอัตลักษณ์ถิ่น |
416 712 | วรรณกรรมกับวัฒนธรรมประชานิยม |
416 799 | วิทยานิพนธ์ |
Link ที่เกี่ยวข้อง : GS-FROM REG REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319 Facebook : งานบัณฑิต
อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th
© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น