ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปร.ด. (ภาษาศาสตร์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประเทศไทย 2565
ปริญญาโท อ.ม. (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2553
ปริญญาตรี ศศ.บ. (ภาษาไทย) เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประเทศไทย 2550

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2566). วัจนปฏิบัติภาษาไทยเบื้องต้น. เอกสารประกอบการสอน. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
2. วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2565). “พื้นฐานการใช้ภาษาไทย.” ใน คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย. ตำรารายวิชา 01361102 การเขียนภาษาไทยเชิงปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2566). “ความเครียด : การศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ของผู้ใช้ภาษาไทยในทวิตเตอร์.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23 (3). หน้า 111-139.
2. วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2566). “ภาษาโน้มน้าวใจในปริจเฉทโฆษณาสินค้าเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ และผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพสำหรับผู้ใหญ่ในเว็บไซต์ RS Mall: การศึกษาตามแนวทางปริจเฉทวิเคราะห์.” มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2023 (Volume 24, Issue 2). หน้า pp.8-31.
3. วิริยวิศศ์ มงคลยศ, กันติทัต การเจริญ, ศิระวัสฐ์ กาวิละนันท์ และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2566). “ภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์ของซอยหัวหิน 57: การศึกษาป้ายธุรกิจการค้าเชิงพาณิชย์.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 2023 (Volume 11, Issue 2). หน้า pp.194-218.
4. กรพัฒน์ โรจน์ธนานันต์, ภควดี จรูญไพศาล, อิทธินี โพธิปักษ์, วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2565). “องค์ประกอบและกลวิธีทางภาษาที่ใช้โน้มน้าวใจในโฆษณาภายนอกรถโดยสารประจำทาง ขสมก. และรถร่วมบริการ ขสมก..” วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 14 (27). หน้า 1-13.
5. วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ และ อุมาภรณ์ สังขมาน. (2564). “กลวิธีทางภาษาและข้อคำนึงที่เป็นเหตุจูงใจในการให้คำแนะนำในภาษาไทย: การศึกษาตามแนวคิดวัจนปฏิบัติศาสตร์แนวปลอดปล่อย.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 43 (2). หน้า 76-93.
6. ธรรมวัฒน์ พัฒนาสุทธินนนท์, ขวัญทิพย์ อรุณรุวิวัฒน์, สุรเดช พิมไทย, วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต และ Wuttinun Kaewjungate. (2564). “กลวิธีทางภาษาที่ใช้บริภาษในแอปพลิเคชันทวิตเตอร์: กรณีศึกษาประเด็นปัญหาความรักของนักแสดงหญิงและนักร้องชาย.” วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 18 (2). หน้า 103-120.
7. นัทธมน คภะสุวรรณ, ฐาปนี สีทาจันทร์, จุฬาลักษณ์ ลาพานิชย์, วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต และ Wuttinun Kaewjungate. (2564). “กลวิธีการใช้ภาษาเพื่อสื่ออารมณ์ขันในรายการ “ตามใจตุ๊ด”.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 21 (2). หน้า 274-298.
8. ธรรมวัฒน์ พัฒนาสุทธินนนท์, ขวัญทิพย์ อรุณรุวิวัฒน์, สุรเดช พิมไทย, วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2564). “กลวิธีทางภาษาที่ใช้บริภาษในแอปพลิเคชันทวิตเตอร์: กรณีศึกษาประเด็นปัญหาความรักของนักแสดงหญิงและนักร้องชาย.” วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 18 (2). หน้า 103-120.
9. นัทธมน คภะสุวรรณ, ฐาปนี สีทาจันทร์, จุฬาลักษณ์ ลาพานิชย์, วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2564). “กลวิธีการใช้ภาษาเพื่อสื่ออารมณ์ขันในรายการ “ตามใจตุ๊ด”.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 21 (2). หน้า 274-298.
10. Siravast Kavilanan และ Wuttinun Kaewjungate. (2564). ““Kids… can you please understand us (Parents)?”: The relationships between linguistic strategies and identities of parents with major depressive disorder from storytelling in the interview discourse.” Kasetsart Journal of Social Sciences, 2021 (Volume 42, Issue 3). หน้า pp.591-598.
11. ศิระวัสฐ์ กาวิละนันท์ และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2563). “บ้านกับความสมบูรณ์พร้อมของการใช้ชีวิต”: ความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีทางภาษากับอุดมการณ์ ในวาทกรรมธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ตามแนวคิดวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์.” วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ, 27 (2). หน้า 387-415.
12. ศิระวัสฐ์ กาวิละนันท์ และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2562). “เวลา คือ พื้นที่ปิดล้อม”: อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์แสดงเวลาตามระบบปฏิทิน ในภาษาไทยถิ่นลำปาง.” วรรณวิทัศน์, 19 (1). หน้า 136-159.
13. วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ และ วิภาดา ณ ภูเก็ต. (2561). “กลวิธีความไม่สุภาพในรายการเดอะเฟซไทยแลนด์.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 40 (2). หน้า 177-201.
14. วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2560). “คำเรียกสีในภาษามอแกน.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 39 (1). หน้า 222-249.
15. วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2559). “หยิกแกมหยอก : สมญานามดาราไทยกับการเล่นทางภาษาของสื่อมวลชน.” วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 38 (1). หน้า 41-55.
16. ทินวัฒน์ สร้อยกุดเรือ และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2556). “ความสุขและความสำเร็จ : ความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีทางภาษากับอุดมการณ์การประกอบอาชีพในวาทกรรมธุรกิจเครือข่ายในวารสารสำหรับสมาชิก.” วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 35 (2). หน้า 57-78.
17. วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2555). “กิเลส: การศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ในภาษาไทย.” วารสารมนุษยศาสตร์, 19 (2). หน้า 24-41.
18. วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2555). “ผู้ชายสมบูรณ์แบบ: ความสัมพันธ์ระหว่างอุดมการณ์ความเป็นชายกับกลวิธีทางภาษาในวาทกรรมโฆษณาในนิตยสารผู้ชาย.” วรรณวิทัศน์, 12 (-). หน้า 1-27.
19. วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ และ เทพี จรัสจรุงเกียรติ. (2555). “การนำเสนอรูปลักษณ์ผู้ชายผ่านกลวิธีทางภาษาในวาทกรรมโฆษณา.” วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์, 33 (1). หน้า 1-13.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Kaewjungate, W. , Kavilanan, S. , Boonkan, N. (2023). "‘Brave and self-sacrificing Covid warriors:’ the metaphors used to describe healthcare workers in Thailand". South East Asia Research, 31 (4). Page 400–416.
2. Kaewjungate, W. , Kavilanan, S. , Khaisingto, P. (2023). "/tan-hǎa/ or lust: A study of conceptual metaphors from a Thai perspective". Kasetsart Journal of Social Sciences, 44 (1). Page 301–310.
3. Kavilanan, S. , Kaewjungate, W. (2021). "“Kids… can you please understand us (Parents)?”: The relationships between linguistic strategies and identities of parents with major depressive disorder from storytelling in the interview discourse". Kasetsart Journal of Social Sciences, 42 (3). Page 591–598.
4. Kaewjungate, W. , Jaratjarungkiat, T. (2012). "The presentation of Men's appearance through linguistic devices in advertising discourse". Kasetsart Journal - Social Sciences, 33 (1). Page 1–13.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ และ วิภาด. (2562). "ชีวิตในเมืองไทย": ปริเฉทเรื่องเล่าของนิสิตชาวต่างประเทศที่เรียนภาษาไทย. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ “พะเยาวิจัยครั้งที่ 8”, จัดโดยมหาวิทยาลัยพะเยา เมื่อวันที่24-25 มกราคม 2562.
2. วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2562). “เก่ง ดี มีสุข”: ภาษากับค่านิยม การศึกษาในโรงเรียนนานาชาติในเว็บไซต์รักลูก. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ สาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 3, จัดโดยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา เมื่อวันที่10 มิถุนายน 2562.
3. วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2562). อุปลักษณ์ที่ใช้ในรายการเดอะเฟชไทยแลนด์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่9, จัดโดยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เมื่อวันที่21 มิถุนายน 2562.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ : วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Discourse Analysis), ปริจเฉทวิเคราะห์ (Discourse Analysis), วัจนปฏิบัติศาสตร์ (Pragmatics), อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ (Conceptual Metaphor), ภาษากับวัฒนธรรมไทย (Thai Language and Culture)

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น