1.
|
ปฐมาพร มิ่งเจริญวงศ์ และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2567).
“อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์เกี่ยวกับความตายในพระคัมภีร์ไบเบิล.” วารสารอักษรศาสตร์, 53 (1).
หน้า 1-23.
|
2.
|
เกริกเกียรติ กุลวิสุทธิ์ และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2567).
“อารมณ์ขันในเฟซบุ๊กแฟนเพจนัดเป็ด: กลวิธีทางภาษาและหน้าที่ของอารมณ์ขัน.” วารสารอักษรศาสตร์และไทยศึกษา , 46 (1).
หน้า E2538 (1-18).
|
3.
|
วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2566).
“ความเครียด : การศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ของผู้ใช้ภาษาไทยในทวิตเตอร์.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23 (3).
หน้า 111-139.
|
4.
|
วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2566).
“ภาษาโน้มน้าวใจในปริจเฉทโฆษณาสินค้าเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ และผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพสำหรับผู้ใหญ่ในเว็บไซต์ RS Mall: การศึกษาตามแนวทางปริจเฉทวิเคราะห์.” มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2023 (Volume 24, Issue 2).
หน้า pp.8-31.
|
5.
|
วิริยวิศศ์ มงคลยศ, กันติทัต การเจริญ, ศิระวัสฐ์ กาวิละนันท์ และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2566).
“ภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์ของซอยหัวหิน 57: การศึกษาป้ายธุรกิจการค้าเชิงพาณิชย์.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 2023 (Volume 11, Issue 2).
หน้า pp.194-218.
|
6.
|
กรพัฒน์ โรจน์ธนานันต์, ภควดี จรูญไพศาล, อิทธินี โพธิปักษ์, วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2565).
“องค์ประกอบและกลวิธีทางภาษาที่ใช้โน้มน้าวใจในโฆษณาภายนอกรถโดยสารประจำทาง ขสมก. และรถร่วมบริการ ขสมก..” วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 14 (27).
หน้า 1-13.
|
7.
|
วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ และ อุมาภรณ์ สังขมาน. (2564).
“กลวิธีทางภาษาและข้อคำนึงที่เป็นเหตุจูงใจในการให้คำแนะนำในภาษาไทย: การศึกษาตามแนวคิดวัจนปฏิบัติศาสตร์แนวปลอดปล่อย.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 43 (2).
หน้า 76-93.
|
8.
|
ธรรมวัฒน์ พัฒนาสุทธินนนท์, ขวัญทิพย์ อรุณรุวิวัฒน์, สุรเดช พิมไทย, วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต และ Wuttinun Kaewjungate. (2564).
“กลวิธีทางภาษาที่ใช้บริภาษในแอปพลิเคชันทวิตเตอร์: กรณีศึกษาประเด็นปัญหาความรักของนักแสดงหญิงและนักร้องชาย.” วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 18 (2).
หน้า 103-120.
|
9.
|
นัทธมน คภะสุวรรณ, ฐาปนี สีทาจันทร์, จุฬาลักษณ์ ลาพานิชย์, วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต และ Wuttinun Kaewjungate. (2564).
“กลวิธีการใช้ภาษาเพื่อสื่ออารมณ์ขันในรายการ “ตามใจตุ๊ด”.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 21 (2).
หน้า 274-298.
|
10.
|
ธรรมวัฒน์ พัฒนาสุทธินนนท์, ขวัญทิพย์ อรุณรุวิวัฒน์, สุรเดช พิมไทย, วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2564).
“กลวิธีทางภาษาที่ใช้บริภาษในแอปพลิเคชันทวิตเตอร์: กรณีศึกษาประเด็นปัญหาความรักของนักแสดงหญิงและนักร้องชาย.” วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 18 (2).
หน้า 103-120.
|
11.
|
นัทธมน คภะสุวรรณ, ฐาปนี สีทาจันทร์, จุฬาลักษณ์ ลาพานิชย์, วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2564).
“กลวิธีการใช้ภาษาเพื่อสื่ออารมณ์ขันในรายการ “ตามใจตุ๊ด”.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 21 (2).
หน้า 274-298.
|
12.
|
ศิระวัสฐ์ กาวิละนันท์ และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2563).
“บ้านกับความสมบูรณ์พร้อมของการใช้ชีวิต”: ความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีทางภาษากับอุดมการณ์ ในวาทกรรมธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ตามแนวคิดวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์.” วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ, 27 (2).
หน้า 387-415.
|
13.
|
ศิระวัสฐ์ กาวิละนันท์ และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2562).
“เวลา คือ พื้นที่ปิดล้อม”: อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์แสดงเวลาตามระบบปฏิทิน ในภาษาไทยถิ่นลำปาง.” วรรณวิทัศน์, 19 (1).
หน้า 136-159.
|
14.
|
วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ และ วิภาดา ณ ภูเก็ต. (2561).
“กลวิธีความไม่สุภาพในรายการเดอะเฟซไทยแลนด์.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 40 (2).
หน้า 177-201.
|
15.
|
วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2560).
“คำเรียกสีในภาษามอแกน.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 39 (1).
หน้า 222-249.
|
16.
|
วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2559).
“หยิกแกมหยอก : สมญานามดาราไทยกับการเล่นทางภาษาของสื่อมวลชน.” วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 38 (1).
หน้า 41-55.
|
17.
|
ทินวัฒน์ สร้อยกุดเรือ และ วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2556).
“ความสุขและความสำเร็จ : ความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีทางภาษากับอุดมการณ์การประกอบอาชีพในวาทกรรมธุรกิจเครือข่ายในวารสารสำหรับสมาชิก.” วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 35 (2).
หน้า 57-78.
|
18.
|
วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2555).
“กิเลส: การศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ในภาษาไทย.” วารสารมนุษยศาสตร์, 19 (2).
หน้า 24-41.
|
19.
|
วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2555).
“ผู้ชายสมบูรณ์แบบ: ความสัมพันธ์ระหว่างอุดมการณ์ความเป็นชายกับกลวิธีทางภาษาในวาทกรรมโฆษณาในนิตยสารผู้ชาย.” วรรณวิทัศน์, 12 (-).
หน้า 1-27.
|
20.
|
วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ และ เทพี จรัสจรุงเกียรติ. (2555).
“การนำเสนอรูปลักษณ์ผู้ชายผ่านกลวิธีทางภาษาในวาทกรรมโฆษณา.” วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์, 33 (1).
หน้า 1-13.
|